The Role of Administrators in Motivating Teacher Performance the School Expands Educational Opportunities Phatthalung Primary Educational Service Area Office 2

Main Article Content

Suriya Lemnui
Tripumin Tritrishual

Abstract

The objectives of this research were to 1) study the roles of the executives in building work motivation of the teachers in the educational opportunity expansion school, 2) compare the roles of the executives in building work motivation of the teachers in the educational opportunity expansion school under the Phatthalung Primary Educational Service Area Office 2 which categorized according to gender, educational level, and work experience, and 3) collect the suggestions to the roles of the executives in building work motivation of the teachers. The samples were 195 teachers of the educational opportunity expansion school in the academic year 2022. Questionnaires and open-ended surveys were applied as the tools of this research which r=0.805. Frequency, percentage, mean, standard deviation, T-test, and F-test. The finding revealed that 1) the samples showed the highest level of opinion toward the roles of the executives in building work motivating factors. The highest mean belonged to responsibility, followed by work success, and work progress, respectively. On another hand, the aspect of the hygiene factors was also at highest. The in-depth study found the highest mean on the supervisor, followed by status, and the personal life was the least. 2) the samples with differences in genders, educational levels, and work experiences reflected a different level of opinion toward the roles of the executives in building work motivation of the teachers in the educational opportunity expansion school under the Phatthalung Primary Educational Service Area Office 2 at the statistical significance rate of .01. and 3) the major suggestion suggested that the samples expect to see regular support on the self-improvement and the inspiring reward and appreciation from the executives to represent the recognition.

Article Details

Section
Research Articles

References

กรรณิการ์ เจริญทรัพย์ และภาวิณี เพชรสว่าง. (2560). ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารออมสิน เขตราชบุรี. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

กาญจนา พรัดขำ. (2565). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู ในสถานศึกษานำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

ณัฐธิดา สุระเสนา. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

ดุจดาว จิตใส. (2554). การใช้หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารกับการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา สังกัดเทศบาล กลุ่มการศึกษาท้องถิ่นที่ 5. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

นิติพล ภูตะโชติ. (2556). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพมหานคร: วี พริ้นท์.

ปฐมวงค์ สีหาเสนา. (2557). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรเทศบาลตำบลค่ายเนินวง ตำบลบางกะจะ อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี. งานนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ปรีดา จันทะวงษา. (2561). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนพนัสพิทยาคารสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18. สารนิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ปิยะ หมานอีน. (2562). บทบาทของผู้บริหารในการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู ศูนย์อบรมศาสนาอิสลามและจริยธรรมประจำมัสยิด จังหวัดนครศรีธรรมราช. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

ปิยสุดา พะหลวง. (2565). บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาต่อการสร้างแรงจูงใจในการทำงานตามความคิดเห็นของ บุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนโสตศึกษา สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. สิกขาวารสารศึกษาศาสตร์, 9(1): 89-99.

ผจญ เฉลิมสาร. (2556). ปัจจัยจูงใจ ปัจจัยค้ำจุน และคุณภาพชีวิตในการทำงานที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีของผู้ปฏิบัติงานในองค์กร กรณีศึกษาการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

พนิดา รัษฎาเพชร. (2565). คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 13. วันศุกร์ที่ 12 พฤษภาคม 2565. หน้า 2354-2368. สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

ภูวิศา ชูธัญญะ (2556). คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้บริหารโรงเรียนในเครืออักษรกรุ๊ป สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยบูรพา.

รวิวรรณ กองสอน. (2565). แนวทางการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพศูนย์การศึกษาพิเศษ กลุ่มเครือข่ายที่ 9 สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

สุธินี ฤกษ์ขำ. (2557). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์: หลักการและการประยุกต์. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เสาวลักษณ์ พิสิษฐ์ไพบูลย์. (2559). ขับเคลื่อนการศึกษาไทยสู่ไทยแลนด์ 4.0. สืบค้นข้อมูลเมื่อ 22 ตุลาคม 2565 จาก http://www.thaihealth.or.th/Content/33499-ขับเคลื่อนการศึกษาไทยสู่%20ไทยแลนด์%204.0html

อภิชัย คุณสุข. (2559). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดตำรวจภูธรจังหวัดตราด. งานนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยบูรพา.

อภิฤดี อยู่รอด. (2557). การศึกษาบทบาทของผู้บริหารและแนวทางการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.

อริญชญา วงศ์ใหญ่. (2558). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูและบุคลากรทางการศึกษา ในวิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพ และบริหารธุรกิจ จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ.

อารมณ์ จินดาพันธ์. (2557). การสร้างแรงจูงใจในการทำงานให้แก่ครูของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนประเภทสามัญศึกษาในกรุงเทพมหานครสังกัดสำนักงานคณะกรรมการสถานศึกษาเอกชน. วารสารบัณฑิตศึกษา, 11(53): 9-13.

อนุสรา หลีหาด. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการทำงานกับประสิทธิภาพในการทำงานของบุคลากร ด่านศุลกากรปาดังเบซาร์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.