การบริหารจัดการเพื่อส่งเสริมการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของกรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • ฉัตรทิพย์ กวีวัฒนา คณะรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
  • วิรัช วิรัชนิภาวรรณ คณะรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย

คำสำคัญ:

การบริหารจัดการ, การส่งเสริมการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้, การประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารกรุงเทพมหานคร

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัญหาเกี่ยวกับการบริหารจัดการเพื่อส่งเสริมการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของกรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาแนวทางการปรับปรุงการบริหารจัดการเพื่อส่งเสริมการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของกรุงเทพมหานคร 3) ศึกษาตัวแบบแนวทางการปรับปรุงการบริหารจัดการเพื่อส่งเสริมการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของกรุงเทพมหานคร4) แนวทางการปรับปรุงการบริหารจัดการมีความสัมพันธ์กับการส่งเสริมการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของกรุงเทพมหานครการวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยแบบผสม เครื่องมือเชิงปริมาณที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยเชิงคุณภาพ คือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบมีโครงสร้างจากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 9 คนกลุ่มตัวอย่าง คือประชาชนในพื้นเขตสวนหลวง เขตบางกอกน้อย เขตวังทองหลาง และเขตธนบุรี จำนวน 1,112 คนซึ่งได้มาจากการคำนวณหาขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของ ทาโร่ ยามาเน่ การเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยและผู้ช่วยอีก 3 คน แจกแบบสอบถาม จำนวน 1,112 ชุด/คน และเก็บรวบรวมแบบสอบถามที่สมบูรณ์กลับคืนมาได้ 1,010 ชุด/คน (n=1,010) คิดเป็นร้อยละ 90.83 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 1,112 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันสรุปผลการวิจัย พบว่า แนวทางการปรับปรุงการบริหารจัดการตามแนวคิดการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีได้แก่การเกิดประโยชน์สุขของประชาชนการมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในการปฏิบัติงานการเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของหน่วยงานและการประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอมีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับการส่งเสริมการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของกรุงเทพมหานคร ด้านความเป็นมืออาชีพด้านความน่าเชื่อถือ ด้านการประสานงานอย่างเป็นเครือข่าย ด้านการทำงานเป็นทีมหรือทีมงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.5

References

พลอยนภัส ทองสายบุญลี (2558). การศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติของสถานศึกษาสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา พระนครศรีอยุธยา เขต 1.วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. (10)2 หน้า 13 - 21.

เดชา วงศ์ปัสสะวิชญวัชญ์เชาวนีรนาทและ สมบูรณ์ ชาวชายโขง(2559). แนวทางส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สนับสนุนการจัดการความรู้ กรณีศึกษาคณะวิทยาการจัดการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยนครพนม วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม. (6)2 หน้า 105 -113.

เมธาวี แกวสนิท (2559). นักประชาสัมพันธ์ยุคใหม่…คิดสร้างสรรค์ได้ ใช้เทคโนโลยีเป็น. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีส เทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ (6)2 หน้า 34-41.

มลล์วธู สาระพงษ์ และวิรัช วิรัชนิภาวรรณ.(2560). “การบริหารจัดการของสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ” วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชียฉบับสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์. (7)1 หน้า 113-121.

วรรธนวุฑฒิรัตน์และ วิรัช วิรัชนิภาวรรณ (2560). การพัฒนาการบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีและการสื่อสารของเทศบาล ในจังหวัดภูเก็ตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ 7(3) หน้า 249-263.

วิรัช วิรัชนิภาวรรณ.(2561). การบริหารจัดการยุคดิจิทัล. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โฟร์เพซ.

สฤษฎเกียรติแจ่มสมบูรณ์ (2559). การจัดการอย่างยั่งยืนกับประสิทธิภาพการบริหารรายการเทิดพระเกียรติของสถานีวิทยุ โทรทัศน์กองทัพบก. วารสารสมาคมนักวิจัย (21)3 หน้า 182-196)

สำนักงานสถิติแห่งชาติ (2560). รายงานจำนวนประชากรในกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ .สำนักงานสถิติแห่งชาติ.

สุนีย์ สัจจาไชยนนท์ และวิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2560). การบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมการนั่งสมาธิของวัด พระธรรมกายตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. วารสาร มจรสังคมศาสตร์ปริทรรศน์(6)2 หน้า 251-267

สีฟ้า แจ่มวุฒิปรีชา. (2559).การบริหารจัดการเพื่อให้บริการด้านการจัดเก็บขยะของกรุงเทพมหานครตามแนวคิดการบริหาร จัดการที่ยั่งยืน.วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนาสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. (8)16 หน้า 54- 65.

สถาบันพระปกเกล้า (2560) ประวัติกรุงเทพมหานคร สิบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2560 จาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B9 %80%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%84% E0%B8
A3#.E0.B8.81.E0.B8.A3.E0.B8.B8.E0.B8.87.E0.B9.80.E0.B8.97.E0.B8.9E.E0.B8.A1.E0.B8.AB.E0.B 8.B2.E0.B8.99.E0.B8.84.E0.B8.A3.

Biernacki, Patrick. and Waldorf, Dan. (1981). “Snowball Sampling: Problems and Techniques ofChain Referral Sampling”, Sociological Methods & Research 10, 2 (1981): 141-163.

Efraim Turban and Linda Volonino. (2011). Information Technology Management. Eight Edition. International Student Version,New York : Wiley.

Reswell, John W. and Plano Clark, Vicki L. (2011). Designing and Conducting Mixed Methods Research.Second Edition. Thousand Oaks, California: Sage Publications, Inc.

Turban,Efraim.and Volonino, Linda. (2011). Information Technology Management. Eight Edition. International Student Version,New York: Wiley.

Yamane, Taro. (2012). Mathematics For Economists: An Elementary Survey. Whitefish, Montana: Literary Licensing, LLC.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-12-24