โปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนสำหรับหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ผู้แต่ง

  • นวรัตน์วดี ชินอัครวัฒน์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • สุวัฒน์ จุลสุวรรณ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คำสำคัญ:

ภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยน, โปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยน, หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนสำหรับหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกลุ่มผู้ให้ข้อมูลได้แก่ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน8 คนผู้วิจัยเลือกผู้ทรงคุณวุฒิตามเกณฑ์ที่กำหนดโดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจงเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบประเมินการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

          ผลการวิจัยพบว่า โปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนสำหรับหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วยหลักการและเหตุผลเป้าหมายวัตถุประสงค์ผู้เข้ารับการพัฒนาระยะเวลาขอบข่ายเนื้อหาหลักการพัฒนาโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบ70:20:10 สื่อประกอบการพัฒนาและการวัดและการประเมินการประเมินโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนสำหรับหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยภาพรวมมีความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุด

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กวี วงศ์พุฒ. (2550).ภาวะผู้นำ.พิมพ์ครั้งที่6. กรุงเทพฯ: บี.เค.อินเตอร์ปริ้นท์.

กาญจนา ธานะ.(2551).ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลความฉลาดทางอารมณ์สภาพแวดล้อมในการทำงานและภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลเอกชนเขตกรุงเทพมหานคร.วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เชษฐา ค้าคล่อง. (2557). การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำแบบมุ่งบริการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน.วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ธำรง บัวศรี. (2542). ทฤษฎีหลักสูตร : การออกแบบและการพัฒนา.พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ: พัฒนาศึกษา.

บุญชม ศรีสะอาด. (2553).การวิจัยเบื้องต้น.พิมพ์ครั้งที่8กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

ประยูร เจริญสุข. (2553, กรกฎาคม-ธันวาคม). การพัฒนาตัวบ่งชี้งานวิชาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารการบริการการศึกษา. 6(2), 58-67.

พิมผกาธรรมสิทธิ์.(2552, มกราคม-มิถุนายน). การพัฒนาตัวบ่งชี้ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง: การทดสอบโมเดลความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้น. วารสารการบริหารการศึกษา. 5(2), 68-73.

พิมพ์พิศา ชัชชวพันธ์. (2559). การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วรเดช จันทรศร. (2551). จากนโยบายสู่การปฏิบัติ: องค์ความรู้ตัวแบบทางทฤษฎีและการประเมินความสำเร็จความล้มเหลว.กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิก.

สันติ ชัยชนะ. (2557).ตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน.วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553).คู่มือการนิเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

________.(2559).คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สุมิตรา พงศธร. (2550, กุมภาพันธ์–เมษายน).สรุปเรื่องของหลักสูตร. วารสารสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย. 7(9), 15-23.

สุวรรณา วงศ์เมืองแก่น. (2548). การวิเคราะห์ตัวประกอบภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนของผู้บริหารการพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย.วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เสถียร พะโยธร. (2560). การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำทีมที่มีประสิทธิผลสำหรับผู้บริหารระดับต้นโรงเรียนมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม.


อภิวุฒิ พิมลแสงสุริยา. (2557, เมษายน). สูตรการพัฒนา70 : 20 : 10. สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ.14(167), 14.

อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. (2559).การพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรบนพื้นฐาน70:20:10 Learning Model. กรุงเทพฯ: เอชอาร์เซ็นเตอร์.

Armstrong, M. (2010).Armstrong’s Handbook of Reward Management Practice :Improving Performance Through Reward. 3rd ed. Great Britain: Kogan Page.

Bar, M.J. &Keating,L.A.(1990).Introductoin : Elements of program development, in M.J.Barr, L.A. Keating and Associates. Developing effective student services program. San Francisco: Jossey-Bass.

Castetter, W. B., & Young, I. P. (2000).The human resources function in education administration 7nded. New Jersey: Prentice–hall.

Charles Jennings. (2013). Framework for High Performance. Available 1 March 2018 from: http://charles-jennings.blogspot.com/2013/06/702010-framework-for-high-performance.html.

Charney, C. & Conway, K. (2005).The Trainer’s Tool Kit. 2nd ed. New York: American Management Association.

Cojocar, B. (2009, January). Adaptive Leadership: Leadership Theory or Theoretical Derivative?.Journal of Academic Leadership. 7(1), 1-7.

Dubrin, A. J. (2004).Leadership Research Finding : Practice and Skills. Boston Houghton: Mifflin Company.

Flippo, E. B. (1984).Personal management. 6th ed. New York: McGraw-Hill.

Glover, J., Rainwater, K., Jone, G., & Friedman, H. (2002, September -November).Adaptive Leadership: Four Principles for Being Adaptive (Part 2).Journal of Organization Development. 20(2), 18-38.

Hogan.(2008, March-May). The Adaptive Leadership Maturity Model.Journal of Organization Development. 26(1), 55-61.

Lombardo, Michael M &Eichinger, Robert W. (1996).The Career Architect Development Planner. Minneapolis: Lominger.

Rothwell, W. J. & Cookson, P. S. (1997).Beyond instruction : comprehensive program planning for business and education. San Francisco: Jossey-Bass Publishers.

Thomas, R. J. (2008).Crucibles of leadership: How to learn from experience to become a great leader. Publisher: Harvard Business School Press.

Yukl, G. Leadership in organizations.(2002). Fifth Edition, Upper Saddle River, New Jersey: PrenticeHall Publishing.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-12-29