การเสริมสร้างเป้าหมายในชีวิตของนักศึกษาด้วยจิตตปัญญาศึกษาและการเรียนรู้ของผู้ใหญ่: กระบวนการเรียนรู้ที่สำคัญและปัจจัยแห่งความสำเร็จ

ผู้แต่ง

  • อริสา สุมามาลย์ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • รศ.ดร.วีระเทพ ปทุมเจริญวัฒนา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ดร.หิมพรรณ รักแต่งาม ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล

คำสำคัญ:

จิตตปัญญาศึกษา, เป้าหมายในชีวิต, การเรียนรู้สำหรับผู้ใหญ่

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงปฏิบัติการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการเรียนรู้สำคัญที่ส่งผลต่อการมีเป้าหมายในชีวิตของนักศึกษาและเพื่อศึกษาปัจจัยแห่งความสำเร็จในการจัดกิจกรรมเสริมสร้างเป้าหมายในชีวิตด้วยแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาและการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ กลุ่มเป้าหมายคือ นักศึกษา ระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 จากทุกคณะของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ใช้การคัดเลือกแบบอาสาสมัคร (Voluntary Selection) กล่าวคือ ให้นักศึกษาที่สนใจเป็นผู้สมัครเข้าร่วมกิจกรรมเอง โดยกำหนดโควต้ารับสมัครจากทุกคณะในมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครทั้งหมด 6 คณะ คณะละ 4 คนเท่ากัน รวมจำนวน 24 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบบันทึกภาคสนามของผู้วิจัย 2) ใบงานและบันทึกการเรียนรู้ของนักศึกษาเพื่อเก็บร่องรอยการเรียนรู้ 3) ประเด็นในการสนทนากลุ่ม และ 4) แบบสัมภาษณ์เชิงลึกก่อนและหลังเข้าร่วมกระบวนการ

          ผลการวิจัยพบว่ากระบวนการเรียนรู้สำคัญที่ส่งผลต่อการมีเป้าหมายในชีวิต ได้แก่ การฝึกสติและทำสมาธิการทบทวนตนเองการรับรู้เป้าหมายในชีวิต การค้นคว้าและทดลองทำในเรื่องที่สอดคล้องกับเป้าหมายในชีวิต และการสะท้อนการเรียนรู้ และปัจจัยแห่งความสำเร็จ ได้แก่ วิธีการเรียนรู้ที่หลากหลายและเข้าใจได้ง่าย บรรยากาศเรียนรู้ที่สบายใจ ผู้สอนที่เข้าใจผู้เรียน และการให้กำลังใจกันระหว่างนักศึกษา

References

ขวัญตา บาลทิพย์ และสิริลักษณ์ จันเทร์มะ. (2556). กระบวนการสร้างเป้าหมายในชีวิตของเยาวชนที่มีชีวิตอยู่กับเอชไอวี.Sonklanagarind Journal of Nursing. 33(3), 1-13

โทโมเอะ อซาอิ. (2551). ผลของการปรึกษาแบบกลุ่มตามแนว Satir Model ต่อการตั้งเป้าหมายชีวิตของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยาการปรึกษา) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาเชียงใหม่.

ธนา นิลชัยโกวิทย์ และ อดิศร จันทรสุข. (2552). ศิลปะการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง : คู่มือกระบวนกรจิตตปัญญา. นครปฐม: ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล.

นิมิตร มรกต.(2560). EthicalPrinciples for Research Involving Humans (HumanSubjectProtection). กรุงเทพฯ : มูลนิธิส่งเสริมทางการแพทย์.

ปาร์คเกอร์ เจ. ปาล์มเมอร์ และอาเธอร์ ซายองค์. (2557). หัวใจอุดมศึกษา เสียกเรียกร้องเพื่อการปรับเปลี่ยนสถานศึกษาโดยการสนทนาในสถาบัน แปลจากเรื่อง The Heart of Higher Education: A Call to Renewal โดย กรรณิการ์ พรมเสาร์. กรุงเทพฯ : สวนเงินมีมา.

มารียา ปัณณะกิจการ. (2556) การพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านโน้ตตามแนวคิดโคดายสำหรับผู้เรียนเปียโนวัยผู้ใหญ่ตอนต้น.วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิต ภาควิชาศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิคเตอร์ อี. ฟรังเคิล. (2558). ชีวิตไม่ไร้ความหมาย. แปลจากเรื่อง Man’s Search for Meaning โดย นพมาส แววหงษ์. กรุงเทพฯ : แพรว.

สมสิทธิ์ อัสดรนิธีเพริศพรรณ แดนศิลป์ และจิรัฐกาล พงศ์ภคเธียร. (2556).โครงการจากใจสู่ใจ คุณค่า ความสุข และพลังภายในที่แท้จริง : การพัฒนาความมั่นคงภายในของสตรีต้องขังตามแนวทางจิตตปัญญาศึกษา.สืบค้นจากhttp://www.ce.mahidol.ac.th/research /research_2.php

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สำนักนายกรัฐมนตรี. 2542. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ.2545.สืบค้นจากhttp://qa.siam.edu/images /form2557/tqf.pdf

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ.2560 – 2564. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

A conscious rethink. (2016). 9 Ways Modern Society Is Causing An Existential Vacuum. Retrieved from https://www.aconsciousrethink.com/3779/9-ways-modern-society-causing-existential-vacuum/

Barbezat, D.& Pingree, A. (2012). Contemplative Pedagogy: The Special Role of Teaching and Learning Centers. In James E. Groccia and Laura Cruz (Eds.), To Improve the Academy,31, 177-191. San Francisco, CA: Jossey-Bass.

Bronk, K. C. (2012). A grounded theory of the development of noble youth purpose. Journal of Adolescent Research, 27(1), 78-109. doi:10.1 177/074355841 1412958

Damon, W. (2009). The why question: Teachers can instill a sense of purpose. Education Next, 9(3), 84.

Drageset, J., Haugan, G. &Tranvåg, O. (2017). Crucial aspects promoting meaning and purpose in life: perceptions of nursing home residents. BMC Geriatrics, 17, 254

Grace, F. (2011). Learning as a Path, Not a Goal: Contemplative Pedagogy – Its Principles and Practices. Teaching Theology & Religion. 14(2): 99-124

Henscke, J.A. (2014). Andragogical Curriculum for Equipping Successful Facilitators of Andragogy in Numerous Contexts. IACE Hall of Fame Repository. Retrieved from https://trace.tennessee.edu/cgi/viewcontent.cgi?referer =&httpsredir=1&article=1392&context=utk_IACE-browseall

Kemmis, S. &McTagart, R. (1990). The Action Research Planner. Geelong:Deakin University Press.

Knowles, M.S. (1970). The Modern Practice of Adult Education : Andragogy vs. Pedagogy. New York : Association Press.

Olivera-Celdran, G. (2011). Purpose in life and career indecision as predictors of academic success in college. (Doctoral dissertation). University of North Carolina. USA.

Prabhat, S. (2010). Difference Between Purpose and Goal. DifferenceBetween.net. Retrieved from http://www.differencebetween.net/miscellaneous/difference-between-purpose-and-goal/

Smith, V.P. (2008). Contemplative Pedagogy in Foreign Language Education. Journal of the World Universities Forum, 1 (3).

University of British Columbia. (2015). Adult learning principles and recommended practices. Retrieved from https://med-fom
fmprpostgrad.sites.olt.ubc.ca/files/2016/03/Adult-Learning-Principles-2015-Clinical-2015.pdf

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-26