การผลิตสื่อวีดิทัศน์โดยใช้การสื่อความหมายด้วยความกลัวเพื่อรณรงค์ยุติการกลั่นแกล้งผู้อื่นด้วยคำพูด

ผู้แต่ง

  • กายสิทธิ์ บุญญานุพงศ์ คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กุลกนิษฐ์ ทองเงา คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

คำสำคัญ:

วีดิทัศน์รณรงค์, การกลั่นแกล้งผู้อื่นด้วยคำพูด, การสื่อความหมายด้วยความกลัว

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อผลิตสื่อวีดิทัศน์รณรงค์ยุติการกลั่นแกล้งผู้อื่นด้วยคำพูดโดยใช้การสื่อความหมายด้วยความกลัว 2) เพื่อศึกษาผลการรับรู้ของผู้รับสื่อ วิดีโอการรณรงค์ยุติการกลั่นแกล้งผู้อื่นด้วยคำพูด โดยใช้การสื่อความหมายด้วยความกลัว กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนมัธยมปลาย โรงเรียนมัธยมวัดหนองจอกโดยการใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง จำนวน 50 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยสื่อวีดิทัศน์รณรงค์ยุติการกลั่นแกล้งผู้อื่นด้วยคำพูดโดยใช้การสื่อความหมายด้วยความกลัว แบบสอบถามการรับรู้ก่อนและหลังรับชมที่มีต่อสื่อวีดิทัศน์รณรงค์ยุติการกลั่นแกล้งผู้อื่นด้วยคำพูดโดยใช้การสื่อความหมายด้วยความกลัว และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการการรับชมสื่อวีดิทัศน์รณรงค์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติค่าที  (t-test) ผลการศึกษาพบว่า 1.)สื่อวีดิทัศน์รณรงค์ยุติการกลั่นแกล้งผู้อื่นด้วยคำพูโดยใช้การสื่อความหมายด้วยความกลัวที่พัฒนาขึ้น มีผลการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน คุณภาพความเหมาะสมอยู่ในระดับมีคุณภาพความเหมาะสมมาก ซึ่งสามารถนำสื่อที่พัฒนาขึ้นไปสู่กระบวนการทดลองศึกษาผลในการรับรู้ของกลุ่มตัวอย่าง 2.) การวิเคราะห์ผลการรับรู้การรับชมสื่อวีดิทัศนรณรงค์ยุติการกลั่นแกล้งผู้อื่นด้วยคำพูดโดยใช้การสื่อความหมายด้วยความกลัว พบว่า ก่อนรับชมสื่อ อยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 3.19 และหลังการรับชมสื่ออยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.34 เมื่อเปรียบเทียบผลการรับรู้ก่อนและหลังรับชมโดยใช้สถิติค่าที (t-test) พบว่าคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ของผู้รับสื่อหลังการรับชมสูงกว่าก่อนการรับชมสื่อรณรงค์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  3.) การวิเคราะห์ความพึงพอใจต่อการรับชมสื่อวีดิทัศน์รณรงค์ยุติการกลั่นแกล้งผู้อื่นด้วยคำพูดโดยใช้การสื่อความหมายด้วยความกลัวที่พัฒนาขึ้น ในด้านเนื้อหา ด้านการออกแบบ และด้านการสื่อความหมาย โดยภาพรวมผู้รับชมมีความพึงพอใจในระดับมาก

References

ทฤษฎีการสื่อสารที่ควรรู้, หลักและทฤษฎีการสื่อสาร. (online),(2557), สืนค้นจาก:htpps://snamiki.wordpress.com/2011/09/24/commart

ย้อนมติมหาเถรฯวางกฎเหล็กโรงเรียนในที่สงฆ์ ชี้ขาดปม"มุสลิมสันติ-วัดหนองจอก". (online), (2561), สืบค้นจาก: https://www.isranews.org/content-page/67-south-slide/66630-maha.html

มุสลิมฮือประท้วงวัดหนองจอก อ้างรัฐธรรมนูญ+ระเบียบกระทรวง สารพัด. (online),(2554),สืบค้นจาก: http://lovethailandso.blogspot.com/2016/09/blog-post_23.html

มูลนิธิยุวพัฒน์, การกลั่นแกล้ง (Bullying) ความรุนแรงในสังคม. (online),(2562), สืบค้นจาก: https://www.yuvabadhanafoundation.org/th/ข่าวสาร/บทความทั่วไป/การกลั่นแกล้ง-Bullying-วัยรุ่น/

Thestandard, ส่องสถิติ ‘การกลั่นแกล้ง’ ในรั้วโรงเรียน รู้จักประเภทและการรับมือ. (online),(2562), สืบค้นจาก: https://thestandard.co/school-bullying/

อาณาจักร โกวิทย์, ทฤษฎีการโน้มน้าวใจต่อสื่อรณรงค์. (online),(2554), สืบค้นจาก: http://devcomru7.blogspot.com/2011/09/blog-post_21html.

วัชราภรณ์ บุญญศิริวัฒน์, การโน้มน้าวใจโดยใช้ความกลัว. (online),(2554), สืบค้นจาก: http://www.chulapedia.chula.ac.th/index.php?title=%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81

อัครพล แผ่นทอง, ความหมายของการตัดต่อ. (online),(2554), สืบค้นจาก: https://sites.google.com/site/akkaraphon000000/home-hi

Kruoong Blog, ความรู้เบื้องต้นของการตัดต่อ. (online),(2554), สืบค้นจาก: http://kruoong.blogspot.com/2011/07/blog-post.html

Pae Phuriphan's, วิธีการตัดต่อรูปแบบต่างๆ. (online),(2554), สืบค้นจาก: http://paephuriphan.wordpress.com/2014/10/17/ความหมายของ-การลำดับภาพ/

Krupiyadanai, ข้อมูลเทคนิคเบื้องต้นการตัดต่อ. (online),(2554), สืบค้นจาก: https://krupiyadanai.wordpress.com /computer4/เทคโนโลยีสื่อประสม/การตัดต่อ/

อรวรรณ ปิลันธน์โอวาท. (2537), การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ. วารสารวิชาการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ประจำเดือน ตุลาคม 2537 , พิมพ์ครั้งที่ 1. 255- กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2537,

เกรียงไกร พัฒนกุลโกเมธ, “ทัศนคติและความพึงพอใจของประชาชนเขตกรุงเทพมหานครที่มีต่อสื่อรณรงค์เพื่อการงดสูบบุหรี่ใช้กลยุทธ์การรณรงค์ด้วยความกลัว”, วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต , มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พระนคร, 2554

ณัฎฐ์ชุดา วิจิตรจามรี, “การสร้างความหมายและองค์ประกอบเชิงสร้างสรรค์ของสื่อทัศน์เพื่อโน้มน้าวใจในการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่”, วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตร์ มหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์, 2558.

หทัยชนก รัตนาชาตรี, “การสื่อสารการโน้มน้าวใจเชิงอารมณ์เพื่อต่อต้านการใช้สัตว์ทดลองของบริษัทเครื่องสำอาง”, วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต, คณะนิเทศศาสตร์, มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์, 2558

ศุภานัน ศิริตัง, “การศึกษาเปรียบเทียบการเปิดรับ และความพึงพอใจที่มีต่อสื่อโฆษณาโครงการรณรงค์ เมาไม่ขับ ดื่มไม่ขับ ของมูลนิธิเมาไม่ขับและโครงการรณรงค์ งดเหล้า เข้าพรรษา ของสำนึกงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ในกลุ่มนักศึกษาเขตกรุงเทพและปริมณฑล”, วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์, มหาวิทยาลัยรังสิต, 2553.

Pinterest, Faces of drank Driving. (online), (2559), สืบค้นจาก: http://www.pinterest.com/pin/498421883737212402/

พัชราภรณ์ ศรีสวัสดิ์, การพัฒนารูปแบบการป้องกันการข่มเหงรังแกในโรงเรียน. (online), (2561), สืบค้นจาก: http://dspace.bu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/3160/1/chindanai_siri.pdf

ขั้นตอนการผลิตรายการวีดิทัศน์3P. (online),(2557), สืนค้นจาก: http://fernchon.blogspot.com/2017/07/3-3p-2539-pre-production-1.html

วาสนา เหมาวราพรชัย, การสร้างสรรค์ภาพยนตร์โฆษณาเพื่อรณรงค์ให้เด็กรักการอ่านหนังสือ หน้า13, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541.

EDITOR, ประวัติ Rudolf Arnheim (Online), 2554, Available: http://v1.midnightuniv.org/midarticle.html (19 กรกฎาคม 2558)

DOP, ประวัติ Edwins S.Porter (Online), 2556,Available:http://www.bloggang.com/viewdiary. Php?id=ilovemovie&month=10-2005&date=13&group=1&blog=1 (19 กรกฎาคม 2558).

Ken Dancy Ger. The Technique of Film and Video Editing : History, Theory, and Practice.Focal Press, 2007.

TONGGZ, ประวัติ Lev Kuleshov (Online), 2556, Available :http://www.oknation.net/blog/tonggz/2008/08/04/entry-1 (19 กรกฎาคม 2558).

แก้วเกล้า บรรจง, แนวคิดการสื่อสารการณรงค์. (Online), 2554, สืบค้นจาก: http://161.200.145.125/bitstream/123456789/60240/1/5984654528.pdf

ศ.ดร กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์, ประสิทธิภาพสื่อ. (Online), 2557, สืบค้นจาก : http://www.krismant.com/images/papers/Efficiency.pdf

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-18