การบริหารจัดการเพื่อส่งเสริมค่านิยมที่เอื้ออำนวยต่อการให้บริการประชาชนของกรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • นัทฐิลาวัลย์ จรัสวิชากร คณะรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย

คำสำคัญ:

การบริหารจัดการ, ค่านิยมที่เอื้ออำนวยต่อการให้บริการประชาชน, กรุงเทพมหานคร

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อศึกษาการพัฒนาการบริหารจัดการเพื่อส่งเสริมค่านิยมที่เอื้ออำนวยต่อการให้บริการประชาชนของกรุงเทพมหานคร และปัจจัยที่มีส่วนสำคัญทำให้การพัฒนาการบริหารจัดการเพื่อส่งเสริมค่านิยมที่เอื้ออำนวยต่อการให้บริการประชาชนของกรุงเทพมหานครประสบความสำเร็จ เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ เป็นแบบสอบถาม ถามความคิดเห็นจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 1,111 คน ซึ่งเป็นประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร 4 เขต ได้แก่ เขตสวนหลวง เขตวังทองหลาง เขตหลักสี่ และเขตคลองเตย เก็บแบบสอบถามที่สมบูรณ์คืนกลับมา จำนวน 1,012 คน คิดเป็นร้อยละ 91.09 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การถดถอย สรุปผลการวิจัยพบว่า (1) การพัฒนาการบริหารจัดการเพื่อส่งเสริมค่านิยมที่เอื้ออำนวยต่อการให้บริการประชาชนของกรุงเทพมหานคร แตกต่างกัน (2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีส่วนสำคัญทำให้การพัฒนาการบริหารจัดการเพื่อส่งเสริมค่านิยมที่เอื้ออำนวยต่อการให้บริการประชาชนของกรุงเทพมหานครประสบความสำเร็จแตกต่างกัน

References

กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร (2561) ข้อมูลสถิติจำนวนประชากรพื้นที่รายเขตของกรุงเทพมหานคร. สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล กรุงเทพมหานคร.

ชมัยภรณ์ ถนอมศรีเดชชัย. (2561). การบริหารจัดการเพื่อนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการให้บริการสาธารณะของเทศบาลเมืองในจังหวัดสมุทรปราการ. วารสารมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น. (15)2 หน้า 335-349.

ณรงค์ เส็งประชา. (2531). พื้นฐานวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

ทัศนีย์ ทองสว่าง (2537) พื้นฐานวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

ราชบัณฑิตยสถาน.(2555). พจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์

วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2562). “ค่านิยมของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ส่งเสริมการให้บริการประชาชนสำหรับการบริหารจัดการยุคดิจิทัลของกรุงเทพมหานคร” วารสาร อัล-นูร บัณฑิตวิทยาลัย ฟาฏอนี. (14) 27 หน้า 219-237.

วรานิษฐ์ ลำไย (2557) การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการที่ดีขององค์การบริหารส่วนตำบลเพื่อพัฒนาชุมชนในพื้นที่ตะวันตก. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษา มหาวิยาลัยศิลปากร.

วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2563). ค่านิยมของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ส่งเสริมการบริหารจัดการยุคดิจิทัล. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โฟร์เพซ.

วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2561). การบริหารจัดการยุคดิจิทัล. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โฟร์เพซ.

สฤษฎเกียรติ แจ่มสมบูรณ์. (2559) “การบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนรายการเทิดพระเกียรติของสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก” วารสารบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (21) 3 หน้า 214-226.

สัมพันธ์ พลภักดิ์ และวิรัช วิรัชนิภาวรรณ (2559) การพัฒนาการบริหารจัดการเพื่อให้บริการประชาชนขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร(6) 1 หน้า 325-337.

สนิท สมัครการ และสุนทรีโคมิน. (2522). รายงานการวิจัยเรื่องคานิยมและระบบคานิยมไทย: เครื่องมือในการสำรวจวัด. สํานักวิจัยสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

อรทัย ก๊กผล. (2546).คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชน.กรุงเทพฯ : มูลนิธิปริญญาโทสำหรับนักบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Yamane, Taro. (2012). Mathematics for Economists: An Elementary Survey. Whitefish, Montana: Literary Licensing, LLC.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-18