วิถีสิ่งแวดล้อมและการตลาดสีเขียวแบบผสมเพื่อการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน และผลประกอบการทางการเงินในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
คำสำคัญ:
วิถีสิ่งแวดล้อม, การตลาดสีเขียวแบบผสม, ความได้เปรียบคู่แข่งขัน, ผลประกอบการทางการเงินบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์อิทธิพลองค์ประกอบวิถีสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการตลาดสีเขียวแบบผสม ความได้เปรียบคู่แข่งขันและผลประกอบการทางการเงิน โดยผู้วิจัยใช้แบบสอบถามไปรวบรวมความเห็นของเจ้าของกิจการ ผู้จัดการ CEO และกรรมการบริษัทอสังหาริมทรัพย์ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจำนวน 400 คน และนำกลับมาวิเคราะห์ผลด้วยสถิติวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ
ผลวิจัยพบว่า องค์ประกอบวิถีสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลพยากรณ์ต่อการตลาดสีเขียวแบบผสมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และมีสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ร่วมกันที่ R2 .78 ความคลาดเคลื่อนสะสมร้อยละ 24 กับ มีความสามารถในการอธิบายความแปรปรวนร่วมกันได้ที่ค่า F 144.26 (Sig .000) นอกจากนั้นผลวิจัยยังพบอีกว่า การตลาดสีเขียวแบบผสมมีอิทธิพลต่อความได้เปรียบคู่แข่งขันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และมีสัมประสิทธิ์พยากรณ์ที่ R2 ร้อยละ 67 กับมีความคลาดเคลื่อนสะสมร้อยละ 66 กับมีผลทดสอบ F ที่ 80.96 (Sig .000)
References
เกษม จันทร์แก้ว. (2564). การจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม, โครงการสหวิทยาการบัณฑิตศึกษา. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประสพชัย พสุนนท์. (2557). การกำหนดขนาดตัวอย่างตามแนวทาง Krejcie and Morgan (1970) ในการวิจัยเชิงปริมาณ. วารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์, 7(2): 112-120.
วิวรรณ ธาราหิรัญโชติ. (2564 ). อสังหาริมทรัพย์' ในยุคนิวนอร์มอล. กรุงเทพธุรกิจ. https://www.bangkokbiznews.com/business/935909.
Barnes, S.J. & Corbitt, B. (2003) Mobile Banking: Concept and Potential. International
Journal of Mobile Communications, 1, 273-288.
http://dx.doi.org/10.1504/IJMC.2003.003494
Chamorro, A. & Bañegil, M.T., (2006). Green Marketing Philosophy: A Study of Spanish
Firms with Ecolabels. Corporate Social Responsibility and Environmental Management, 13, 11–24.
Daniel, C.E. & Simmons P.J. (2011). The Green to Gold Business Playbook: How to Implement Sustainability Practices for Bottom-line Results in Every Business Function. Canada: John Wiley & Sons, Inc.
De Boera, M., Kokala, I., Blokpoela, M., Liua, R., ,Stolka, A., Roelofsa, K., van Rooija, I. &
Tonia, I. (2017). Oxytocin modulates human communication by enhancing cognitive exploration. Psych neuroendocrinology, 86 (2017) 64–72
Deshpande, H.W. & Poshadri, A. (2011) Physical and Sensory Characteristics of
Extruded Snacks Prepared from Foxtail Millet Based Composite Flours. International Food Research Journal, 18, 751-756.
Gunn and others. (2004). Policy analysis for real world. New York: Oxford University Press.
Hart, O. (1995) Corporate Governance: Some Theory and Implications. The Economic
Journal, 105, 678-698. http://dx.doi.org/10.2307/2235027
Nosratabadi, S., Mosavi, A., Band, S.S. & Zavadskas, E.K. (2019). Sustainable Business Models: A Review. Sustainability, 11(6):1663
Porter, M.E. (2005). The Competitive Advantage Creating and Sustaining Superior Performance. New York: The Free Press.
Polonsky, MJ. (2011). Transformative green marketing: impediments and
opportunities. Journal of Business Research, 64(12), 1311-1319
Smith, V. (1976). Experimental Economics: Induced Value Theory.
American Economic Review, 66(2), 274-79.
TerraBkk. (2564, ตุลาคม). ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในการซื้ออสังหาริมทรัพย์ช่วงโควิด.
www.terrabkk.com/articles/200481
Wetering, J.V.D., & Wyatt, P. (2011). Office sustainability: occupier perceptions and implementation of policy. Journal of European Real Estate Research, 4(1), 29-47.
Yaseen, S.G., Dajani, D. & Hasan, Y. (2016). The impact of intellectual capital on the
competitive advantage: Applied study in Jordanian telecommunication companies. Computers in Human Behavior, 62:168-175