การสร้างภาคีเครือข่ายการเรียนรู้ตลอดชีวิต: กรณีศึกษาสร้างเครือข่ายการทำน้ำมันเหลืองสมุนไพร

ผู้แต่ง

  • ธราดล หีตอักษร

คำสำคัญ:

ภาคีเครือข่าย, การเรียนรู้ตลอดชีวิต, น้ำมันเหลืองสมุนไพร, กรมส่งเสริมการเรียนรู้

บทคัดย่อ

พระราชบัญญัติส่งเสริมการเรียนรู้ พ.ศ. 2566 กำหนดไว้ว่าให้กรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร) จัดการเรียนรู้สร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนและสังคม รวมทั้งร่วมมือกับผู้ชำนาญการในภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาคีเครือข่าย และสถานศึกษา ในการส่งเสริมการเรียนรู้การถ่ายทอดประสบการณ์ ความรู้ หรือภูมิปัญญาให้แก่ผู้เรียนหรือประชาชน บทความนี้มุ่งนำเสนอ การสร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือและขยายความรู้สู่ชุมชนเพื่อความยั่งยืน ดำเนินงานร่วมกันระหว่างสถานศึกษา ชุมชน ภาคีเครือข่าย ในการสร้างเครือข่ายการทำน้ำมันเหลืองสมุนไพร ประกอบด้วย 1) การวิเคราะห์สถานการณ์ วางแผนพัฒนา 2) การวิเคราะห์ทรัพยากรขององค์กร (4 M’s) 3) การดําเนินงานพัฒนา 4) การติดตาม ประเมิน ปรับปรุงแก้ไข เผยแพร่ ต่อยอดการดำเนินงาน ร่วมกับการจัดการความรู้ สามารถสร้างภาคีเครือข่ายการเรียนรู้ตลอดชีวิต และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่น สร้างรายได้ สร้างอาชีพของคนในชุมชน เกิดการเรียนรู้ ถ่ายทอดองค์ความรู้ ประสบการณ์ที่มีคุณค่า โดยมีทุนทางสังคมวัฒนธรรมในชุมชนท้องถิ่นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้กับกลุ่มชนรุ่นหลังสืบไป ให้สมาชิกในครอบครัว ชุมชน สังคม ได้นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป

Author Biography

ธราดล หีตอักษร

ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี

References

กิตตราพร เมฆขจร. (2557). ประสิทธิผลของการถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุตามโครงการอุ๊ยสอนหลานสืบสานภูมิปัญญา

และวัฒนธรรมท้องถิ่นแม่วาง อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

จิติมา วรรณศรี. (2564). การบริหารจัดการศึกษายุคดิจิทัล. พิษณุโลก: รัตนสุวรรณการพิมพ์.

จินต์ประวีร์ เจริญฉิม และสิริชัย ดีเลิศ. (2563). กระบวนการถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุสู่ชุมชนและสังคมที่ยั่งยืน.

วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 33(2), 152-167.

ชนันภรณ์ อารีกุล. (2563). การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต แนวคิด หลักการและสาระสำคัญ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์

จุฬาลงกรณ์.

ชวลิต ขอดศิริ และคณะ. (2564). ทิศทางและแนวโน้มของภาวะผู้นำทางการประถมศึกษาในยุคDigital Disruption. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์. 17 (1), 1-16.

นันทรัตน์ เจริญกุล. (2553). การจัดการความรู้. วารสารศึกษาศาสตร์, 21(1), 12-26.

ปราริณา อาษาธง. (2565). การพัฒนากระบวนการบริหารโดยใช้สถานศึกษา ชุมชน ภาคีเครือข่ายเป็นฐานเพื่อพัฒนาฐาน การเรียนรู้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอโพธิ์ชัย จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารสังคมศาสตร์

และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 7(9), 282-298.

พรรณภัทร แซ่โท้ว, ศักดา กาญจนวนาวัลย์ และอนุรักษ์ ทองขาว. (2563). กลยุทธ์การจัดการ (4M) ของตลาดชุมชนจีน

โบราณบ้านชากแง้ว โดยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่หนึ่ง. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 14(3),

-309.

ราชกิจจานุเบกษา. (2566). พระราชบัญญัติส่งเสริมการเรียนรู้ พ.ศ. 2566. (ออนไลน์). สืบค้นวันที่ 30 มีนาคม 2566, จาก https://ratchakitcha.soc.go.th/documents/140A020N0000000006000.pdf

ศักรินทร์ ชนประชา. (2562). การศึกษาตลอดชีวิต. วารสาร AL-NUR บัณฑิตวิทยาลัย.14 (26), 159-175.

สุวิมล รัฐวร และยุวธิดา ชาปัญญา. (2561). แนวทางการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการจัดการศึกษาของ

สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎ

ร้อยเอ็ด, 12 (special issue), 83-91.

สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดสุราษฎร์ธานี. (2566). รายงานสรุปการแลกเปลี่ยนเรียนรู้. กรมส่งเสริมการเรียนรู้.

สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. (2560). เอกสารสาระหลักการและแนวคิดประกอบการ

ดำเนินงาน กศน.: คัมภีร์ กศน. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัด เอ็น.เอ.รัตนะเทรดดิ้ง.

อรอุมา ภูมิบูรณ์, สุวิธิดา จรุงเกียรติกุล และอาชัญญา รัตนอุบล. (2565). การเสริมสร้างความร่วมมือขององค์กรเครือข่ายใน

การส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้แก่ประชาชนในบริบทของการพัฒนาความเป็นพลเมืองไทย. วารสารบัณฑิต

วิทยาลัย พิชญทรรศน์, 17(1), 231-242.

อาชัญญา รัตนอุบล. (2562). การวิเคราะห์และสังเคราะห์ปรัชญา แนวคิด และหลักการของการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อการเป็น

ชุมชนแห่งการเรียนรู้. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 47(2), 428-444.

อุดมลักษณ์ คงคาเนรมิต และวีระวัฒน์ อุทัยรัตน์. (2564). แนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายเพื่อส่งเสริมการ

สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย.

วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 8(3), 44-58.

Awad, E.M. and Ghaziri, H.M. (2004). Knowledge Management. NJ, USA: Pearson Prentice Hall.

Grisay, A., & Mahlck, L. (1991). The Quality of Education in Developing Countries. A Review of

Some Research Studies and Policy Documents. UNESCO: IIEP.

Hoy, W.K., & Miskel, C.G. (2001). Educational Administration: Theory Research and Practice (6thEd). New

York: McGraw-Hill.

United Nations. (2015). World Population Ageing. New York: Department of Economic and Social Affairs.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-29