อิทธิพลสมรรถะการจัดการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาและกระบวนการนิเทศ ภายในสถานศึกษาที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์นักเรียน
คำสำคัญ:
สมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษา, กระบวนการนิเทศภายในสถานศึกษา, ผลสัมฤทธิ์นักเรียนบทคัดย่อ
การพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาควบคู่ไปพร้อมกับการพัฒนากระบวนการนิเทศภายในสถานศึกษาจะส่งผลต่อการยกระดับผลสัมฤทธิ์นักเรียนได้หรือไม่ ผู้วิจัยได้นำไปพัฒนาเป็นเครื่องมือวิจัยและรวบรวบข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 364 คน และนำกลับมาวิเคราะห์ผลด้วยสถิติวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ
ผลวิจัยพบว่า องค์ประกอบสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษามีอิทธิพลพยากรณ์ต่อผลสัมฤทธิ์นักเรียนอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ และมีคะแนนมาตรฐานขององค์ประกอบความรู้ความเข้าใจต่อการจัดการเรียนการสอนที่ -.02 ทักษะการสอน .09 และคุณลักษณะครู -.01 รวมถึงมีสัมประสิทธิ์ถดถอย R2 เท่ากับ .00 ความคลาดเคลื่อนสะสม .30 กับมีความแปรปรวน F เท่ากับ .612 Sig. 608 นอกจากนี้ องค์ประกอบกระบวนการนิเทศภายในสถานศึกษาที่มีอิทธิพลพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์นักเรียนได้อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ประกอบด้วย องค์ประกอบการศึกษาสภาพและปัญหาการจัดการเรียนการสอนมีคะแนนมาตรฐานที่ .10 การวางแผนและคัดเลือกแนวทาง -.02 การพัฒนาสื่อและเครื่องมือติดตามผล .08 การดำเนินการนิเทศ .05 และการประเมินผลกับรายงานการนิเทศอีก .04 โดยมีสัมประสิทธิ์ถดถอยที่ .01 ความคลาดเคลื่อนสะสม .30 และความแปรปรวน F เท่ากับ .658 (Sig. 656)
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2565). แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ.2566-2570), สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กัญญสิริ จันทร์เจริญ. (2554). การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง, สืบค้นจาก
https://www.ict.up.ac.th/surinthips/ResearchMethodology_2554/%
เจนวิทย์ นวลแสง. (2564). จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์กับการวิจัยทางสังคมศาสตร์, วารสารการเมือง การบริหารและกฎหมาย, 10(2), 131-155.
ชวนพิศ ศิลาเดช และมาเรียม นิลพันธุ์. (2560). การพัฒนาสมรรถนะและตัวบ่งชี้สมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนมาตรฐานสากล, วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี, 6(2), 79-88.
ชะรอยวรรณ ประเสริฐผล อนุชา กอนพ่วง วิทยา จันทร์ศิลา และฉลอง ชาตรูประชีวิน. (2556). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ของครูใหม่โรงเรียนเอกชนประเภทสามัญศึกษา, วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 15 ฉบับพิเศษ, 43-53.
นิธิดา อดิภัทรนันท์ จารวี เพชรแก้ว พิมพ์พธู สุภาพิมพ์ และณัฐนันท์ นิเวศน์วรการ. (2561). การศึกษารูปแบบการนิเทศ CWS เพื่อส่งเสริมสมรรถนะความเป็นครูของนักศึกษา สาขาวิชาเอกภาษาอังกฤษ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, รายงานวิจัย
ประยูร บุญใช้. (2563). สมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ของครูประถมศึกษา, วารสารเซนต์จอหน์, 23(33), 240-258.
ประสพชัย พสุนนท์. (2557). ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามในงานวิจัยเชิงปริมาณ, วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 27(1), 144-163.
ภีชาวิทย์ ยางงาม. (2564). กระบวนการนิเทศภายในโรงเรียนบรรหารแจ่มใส 3, การค้นคว้าอิสระ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2565). ทักษะการเรียนรู้และพัฒนา, ศูนย์ผู้นำนวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้, สืบค้นจาก http://www.curriculumandlearning.com/upload/Books
วีระศักดิ์ จินารัตน์. (2564). ระเบียบวิธีวิจัยสมัยใหม่, พิมพ์ครั้งที่ 1; อุบลราชธานี, ยงสวัสดิ์ อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด.
วีระศักดิ์ จินารัตน์. (2564). มาตรฐานงานวิจัยเชิงปริมาณและการพัฒนา, พิมพ์ครั้งที่ 1; อุบลราชธานี, ยงสวัสดิ์ อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด.
ศักดิ์นรินทร์ นิลรัตน์ศิริกุล. (2563). การพัฒนาสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้เชิงรุก: กรณีศึกษาสหวิทยาเขตสตึก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 32, วิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ศุภณัฐ เติมชัยอนันต์. (2023). AI กับอนาคตการศึกษา ตัวช่วยที่ทำให้เด็กเก่งขึ้น หรือตัวการขัดขวางการเรียนรู้ ทำลายอาชีพครู, สืบค้นจาก https://thepotential.org/knowledge/ai-future-education/
สมบัติ ท้ายเรือคำ. (2559). การพัฒนาแบบสอบถามและการวัดทางจิตวิทยา, วารสารวิจัยเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน, มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม, 3(1), 35-48.
สุริยะ หาญพิชัย. (2563). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้การเรียนรู้ด้วยกระบวนการกลุ่มในรายวิชาสถานการณ์โลกปัจจุบัน, วารสารฉลวยศรี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี, 4(1), 15-25.
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดศรีสะเกษ. (2564). รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564. สืบค้นจาก https://sskpeo.moe.go.th/download/%
อภิชัย ชิณเทพ. (2542). แนวทางการนิเทศภายในโรงเรียน, สืบค้นจาก
https://www.gotoknow.org/posts/200728
Jinarat, P. (2023). Guidelines for developing educational management and learning management using cultivate and block that affects the students' reflection on values and meanings. UMT research.
Kangsang, A. (2018). The role of supervision of the school administrators as perceived elementary schools in Sabayoi district of Songkha province, thesis of Hatyai University.
Masae, P. (2018). Development of measurement scale on media literacy in the 21st century for lower secondary school students by applying polytowous item response theory, thesis of Prince of Songkla University.
Pimpa, P. (2018). Current Thai studies, Academic Journal of Mahamakut Buddhist University Roi Et Campus, 7(1), 242-249.
Pongsut, L. (2022). The guidelines to develop academic achievement of students in the low grades, JAPDEAT, 4(3), 57-73.
Somrit, W., Ouppinjai, S., & Wetcha, P. (2021). The guidelines for internat supervision
administration of learning management for school under Phayao primary education service area office 2, Journal of MCU Phetchaburi Review, 4(1),