จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ในการศึกษาปฐมวัย

ผู้แต่ง

  • พนิตา ชอบทำกิจ, กมลวรรณ อังศรีสุรพร และนารวี อิ่มศิลป์ Bangkok

คำสำคัญ:

จริยธรรมของปัญญาประดิษฐ์, สิทธิทางดิจิทัลของเด็ก, การศึกษาปฐมวัย

บทคัดย่อ

จริยธรรมในการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในบริบทการศึกษาปฐมวัย โดยเน้นความสำคัญของปัญญาประดิษฐ์ในการส่งเสริมการเรียนรู้ พัฒนาการ และการเล่นของเด็กปฐมวัย ซึ่งปัญญาประดิษฐ์มีบทบาทสำคัญในการปรับแต่งเนื้อหา และกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับความต้องการ และพัฒนาการของเด็กแต่ละบุคคล นอกจากนี้ ปัญญาประดิษฐ์ยังช่วยสร้างประสบการณ์การเรียนรู้เฉพาะรายบุคคล ช่วยครูในการออกแบบ และวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ รวมถึงพัฒนาทักษะของเด็กในด้านการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหาและการทำงานร่วมกัน

การนำปัญญาประดิษฐ์มาใช้ในระดับปฐมวัยจำเป็นต้องคำนึงถึงประเด็นด้านจริยธรรม เช่น ความโปร่งใส                    ความรับผิดชอบ ความยุติธรรมและความยั่งยืน เพื่อป้องกันผลกระทบด้านลบ เช่น ความไม่เท่าเทียมกัน การละเมิดสิทธิของเด็ก และอคติในระบบปัญญาประดิษฐ์แสดงให้เห็นว่าการพัฒนาทักษะปัญญาประดิษฐ์สำหรับเด็กต้องมุ่งเน้นการเคารพสิทธิของเด็ก การส่งเสริมความหลากหลายและการไม่เลือกปฏิบัติ พร้อมทั้ง สร้างความปลอดภัยในโลกออนไลน์                                  รวมทั้งในด้านบทบาทของครูและผู้ปกครอง การร่วมมือในการใช้ปัญญาประดิษฐ์เป็นสิ่งสำคัญ เพื่อให้เด็กได้รับประโยชน์จากปัญญาประดิษฐ์อย่างเหมาะสมและปลอดภัย นอกจากนี้ เด็กควรมีส่วนร่วมในการออกแบบและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ที่ใช้ปัญญาประดิษฐ์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เชิงจริยธรรมและการมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจ

References

เทพพิสุทธิ์ ประจิตร, สุรศักดิ์ สุขมาก, กรรณิกา ปัญญาวงค์ และชมพูนุท แย้มสรวล. (2567). การปรับตัวของชาวนาเกลือใน

พื้นที่สองบุรีศรีมหาสมุทร : ความท้าทายเพื่อความอยู่รอดของชาวนาเกลือในยุค AI-Robotics. วารสารวิชาการมหา

วิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น, 21(1), 293–303.

มงคล จิตรโสภิณ. (2566). การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะไทยแลนด์ 4.0 ของนักศึกษา

สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น, 20(1), 47–66.

สุภาภรณ์ สังข์ทอง, อารยา ประเสริฐชัยและ อนัญญา ประดิษฐปรีชา. (2567). การสํารวจภาวะสุขภาพจิตในเด็กวัยเรียน โรงเรียนอนุบาลเทศบาลบางเมืองจังหวัดสมุทรปราการ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีส

เทิร์น, 21(1), 13–26.

ศิโรจน์ ผลพันธิน. (2567). ปฐมวัยเมื่อใช้ AI ช่วย. สืบค้นจาก https://shorturl.asia/7LNw1

อรพร ทับทิมศรี. (2566). การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ แบบ ON-HAND เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สำหรับเด็กปฐมวัยภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น, 20(1), 133–142.

Berntsen, J., Rimestad, J., Lassen, J. T., Tran, D., & Kragh, M. F. (2022). Robust and generalizable embryo

selection based on artificial intelligence and time-lapse image sequences. PLoS ONE, 17(2).

Choi, J. I., Yang, E., & Goo, E. H. (2024). The Effects of an Ethics Education Program on Artificial Intelligence among Middle School Students: Analysis of Perception and Attitude Changes. Applied Sciences (Switzerland), 14(4).

Du, H., Sun, Y., Jiang, H., Islam, A. Y. M. A., & Gu, X. (2024). Exploring the effects of AI literacy in teacher learning: an empirical study. Humanities and Social Sciences Communications, 11(1).

Karizat, N., Vinson, A. H., Parthasarathy, S., & Andalibi, N. (2024). Patent Applications as Glimpses into the Sociotechnical Imaginary: Ethical Speculation on the Imagined Futures of Emotion AI for Mental Health Monitoring and Detection. Proceedings of the ACM on Human-Computer Interaction, 8(CSCW1). Retrieved from https://doi.org/10.1145/3637383

Kurian, N. (2023). AI’s empathy gap: The risks of conversational Artificial Intelligence for young children’s well-being and key ethical considerations for early childhood education and care. Contemporary Issues in Early Childhood. Retrieved from https://doi.org/10.1177/14639491231206004

La Fors, K. (2024). Toward children-centric AI: a case for a growth model in children-AI interactions. AI and Society, 39(3), 1303–1315.

Muyskens, K., Ballantyne, A., Savulescu, J., Nasir, H. U., & Muralidharan, A. (2024). The Permissibility of Biased AI in a Biased World: An Ethical Analysis of AI for Screening and Referrals for Diabetic Retinopathy in Singapore. Asian Bioethics Review. Retrieved from https://doi.org/10.1007/s41649-024-00315-3

Ottenbreit-Leftwich, A., Glazewski, K., Jeon, M., Jantaraweragul, K., Hmelo-Silver, C. E., Scribner, A., Lee, S., Mott, B., & Lester, J. (2023). Lessons Learned for AI Education with Elementary Students and Teachers. International Journal of Artificial Intelligence in Education, 33(2), 267–289.

Solyst, J., Xie, S., Yang, E., Stewart, A. E. B., Eslami, M., Hammer, J., & Ogan, A. (2023). I Would Like to

Design: Black Girls Analyzing and Ideating Fair and Accountable AI. Conference on Human Factors

in Computing Systems - Proceedings. Retrieved from https://doi.org/10.1145/3544548.3581378

Wang, G., Zhao, J., Van Kleek, M., & Shadbolt, N. (2024). Challenges and opportunities in translating ethical

AI principles into practice for children. Nature Machine Intelligence, 6(3), 265–270.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-28