การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันการปรับตัวเพื่อการแข่งขันของผู้ประกอบการร้านค้าในตลาด

Main Article Content

Suvannin Wongtheera

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาและวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันการปรับตัวเพื่อการแข่งขันของผู้ประกอบการร้านค้าในตลาดอินโดจีนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน หลังเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2) เพื่อตรวจสอบความกลมกลืนของรูปแบบการปรับตัวเพื่อการแข่งขันของผู้ประกอบการร้านค้าในตลาดอินโดจีนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน หลังเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชากร ได้แก่ ผู้ประกอบการร้านค้าในตลาดอินโดจีนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 3 จังหวัด ได้แก่ หนองคาย นครพนม และมุกดาหาร จำนวน 873 คน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 499 ราย จากแนวคิดของ Hair, et al. (1998) และสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ผลการวิจัย พบว่า การปรับตัวเพื่อการแข่งขันของผู้ประกอบการร้านค้าในตลาดอินโดจีนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน หลังเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน มีค่าน้ำหนักดังนี้ ด้านการพัฒนาสินค้า และผลิตภัณฑ์ (0.80) ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (0.77) ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ (0.71) ด้านการบริหารเงินทุน (0.66) ด้านการพัฒนากลยุทธ์การตลาด (0.64) และด้านการปรับปรุงร้านค้า (0.64) ตามลำดับ ผลการตรวจสอบความสอดคล้องของรูปแบบองค์ประกอบเชิงยืนยันกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่า ค่าไค-สแควร์ (χ2 ) ที่แตกต่างจากศูนย์โดยไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (χ2 = 12.60, d.f. = 7, p = 0.08)

Article Details

How to Cite
Wongtheera, S. (2018). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันการปรับตัวเพื่อการแข่งขันของผู้ประกอบการร้านค้าในตลาด. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 38(1), 1–17. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/utccjournalhs/article/view/131409
บท
บทความวิจัย

References

Aungsuchot, S., Wichitwanna, S., & Pinyopanuwat, R. (2011). Statistical analysis for social science research and behavioral sciences:techniques for using LISREL programs. Bangkok, Thailand: Charoenmankhongkhanpim. (in Thai).

Best, J.W. (1981). Research in education (4th ed.) Englewood Cliffs, NJ: Prentice–Hall.

Colemwn, J. & Hammen, C. (1974). Contemporary psychology and effective behavior. Glenview, IL: Scott, Foreman.

Cronbach, L.J. (2003). Essential of psychology testing. New York: Hanpercollishes.

Denkaew, R. (2013). Understanding and adjustment of medium and small enterprises in Phayao Province toward accessing to the ASEAN Economic Community (Unpublished master’s thesis). Chiang Rai Rajabhat University, Thailand. (in Thai).

Department of Foreign Trade. (2016). Overview of border trade with neighboring Countries Malaysia, Myanmar, Laos and Cambodia. Retrieved August 15, 2016, from https://www.dft.go.th/bts/trade-statistics/cid/153/-4. (in Thai).

Em-ek, N. (2014). Antecedents and consequences of behavioral competencies for competitiveness and success of Thai–Malaysia border trade entrepreneurs to support the ASEAN Economic Community. The Journal of Veridian, 7(2), 381-401.(in Thai).

Hair, J.F., Black, W.C., Babin, B.J., Anderson, R.E., &Tatham, R.L. (1998). Multivariate data analysis (6th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall.

Ittichinbanchorn, N. (2016). The competitive advantage of quality rubber production network. University of the Thai Chamber of Commerce Journal, 36(2), 20-39. (in Thai).

Lekmat, L., & Hongratanawong, L. (2017). Value creation in pineapple industry. University of the Thai Chamber of Commerce Journal, 33(1), 79-90. (in Thai).

Malm, M., & Jamison, O.G. (1952). Adolescence. New York: McGraw-Hill.

Pankong, W. (2014, December 19). Thai border trade opportunity. Post Today, p.B16. (in Thai).

Promthaveechok, T. (2014). Chiang Mai entrepreneurs’ adjustment guaranteed by small industrial credit guarantee corporation, when Thailand enters ASEAN Economic Community (Unpublish master’s thesis). Chiang Mai University, Thailand. (in Thai).

Roy, C. (2008). The Roy adaptation model (3rd ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall Books.

Samaikul, M. (2013). Border trade and economic development: Case study of friendship border market Thai-Cambodia Sa kaeo Province. Journal Prince of Songkla University, 25(1), 22-30. (in Thai).

Suvannin, W. (2016). Introduction to international business (cross-border trade). Bangkok, Thailand: Ramkhamhaeng University. (in Thai).

Teece, D.J. (2010). Business models, business strategy and innovation. Long Range Planning Journal, 43(2-3), 172-194.

Wanichbancha, K. (2013). Structural equation modeling analysis with AMOS. Bangkok, Thailand: Samlada. (in Thai).

Waratornpaibul, T. (2016). Creating effective promotional media in the retail business. University of the Thai Chamber of Commerce Journal, 36(4), 50-62. (in Thai).