การสร้างสื่อโปรโมชั่นสินค้าที่ส่งผลต่อการบริโภคในธุรกิจค้าปลีก เขตจังหวัดกรุงเทพมหานคร

Main Article Content

Theerawee Waratornpaibul

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มาใช้บริการในธุรกิจค้าปลีก  และเพื่อศึกษาปัจจัยการสร้างสื่อโปรโมชั่นสินค้าที่ส่งผลต่อการบริโภคสินค้าในธุรกิจค้าปลีก จากกลุ่มตัวอย่างที่เข้ามาซื้อสินค้าในร้านค้าปลีก 400 คนที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพมหานคร วิเคราะห์ข้อมูลพฤติกรรมผู้บริโภคด้วยสถิติเชิงพรรณา และสถิติสมการถดถอยเชิงเส้นแบบพหุ ผลการศึกษา พบว่า ผู้บริโภคที่เป็นกลุ่มตัวอย่างนั้น มาใช้บริการในร้านค้าปลีกมากกว่า 5 ครั้งต่อสัปดาห์ โดยซื้อสินค้าทั่วไป เช่น อาหาร น้ำ ของใช้ส่วนตัว ขนมขบเคี้ยว การใช้บริการทางด้านการเงิน และพบว่าปัจจัยการสร้างสื่อโปรโมชั่น ประกอบด้วย ความชัดเจนของสื่อ ความเป็นเอกลักษณ์  ความแตกต่างจากคู่แข่งขัน มีการตกแต่งสวยงาม และทำให้เกิดการรับรู้ สามารถทำนายการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค ได้ร้อยละ 59.2 (R2 =.593) และสร้างเป็นสมการทำนายปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อ คือ การตัดสินใจซื้อ  = 0.515 + 0.133 ความชัดเจน + 0.143 ความเป็นเอกลักษณ์ + 0.120 ความแตกต่างจากคู่แข่ง + 0.113 การตกแต่ง + 0.132 พนักงานคอยให้ความรู้ร่วมกับสื่อ (R Square (R2) =.592, F =25.540, Sig.=.000)

Article Details

How to Cite
Waratornpaibul, T. (2019). การสร้างสื่อโปรโมชั่นสินค้าที่ส่งผลต่อการบริโภคในธุรกิจค้าปลีก เขตจังหวัดกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 36(4), 50–62. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/utccjournalhs/article/view/188061
บท
บทความวิจัย

References

“Annual year-Bank of Ayudhya (Limited)”. 2002. Journal of Economic Analysis of the bank.Maximum speed of Ayutthaya (Thailand) 20,10: 45-47(in Thai).

“รายงานประจำปี-ธนาคารกรุงศรีอยุธยาจำกัด (มหาชน)”. 2545. วารสารเศรษฐกิจวิเคราะห์ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกั ด (มหาชน) 20,10: 45-47.

Backman, S.J.,and Veldkamp, C. 1995. “Examination of the Relationship between Servicำ Quality and User loyalty.” Journal of Park and Recreation Administration 13,2: 29-41.

Bolton, R.N.,and Drew, J.H. 1991. "A Multistage Model of Customers’ Assessments of Service Quality and Value,” Journal of Consumer Research 17,4: 375-384.

Heinich, R. 1996. Instructional Media and Technologies for Learning. Upper Saddle Riuu, N.J.: Prentice-Hall.

Heinich, Robert ,Molenda, Michael , and Russell, James D. 1989. Instructional Media and the New Technologies of Instruction. 3rd ed. New York: Wile.

Melissa, Davis. 2007 . “American Marleting Association.” Journal of Marketing 3,1: 126.

Panyachokchai, Khanapote. 2013. A Study of Factors Affecting Brand Loyalty. A Case Study of Nivea for Men Facial Wash in Bangkok . Bangkok: Assumption University.

Romiszowski, A. J. 1992.Computer Mediated Communication: A Selected Bibliography. Englewood Cliffs, NJ: Educational Technology.

Sererat, Siriwan, et al. 2552. Martketing Management: New Age. Bangkok: Development Studies. (in Thai).

ศิริวรรณ เสรีรัตน์, และคนอื่นๆ. 2552. การบริหารการตลาด : ยุคใหม่. กรุงเทพมหานคร: พัฒนาศึกษา.

Thailand. Bureau of Consumer Protection Committee. 2007. OCPB with Consumer Protection.11th ed. Bangkok: Arun LP Print. (in Thai).

สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค. 2550. สคบ.กับการคุ้มครองผู้บริโภค.พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร : อรุณการพิมพ์.

Warapitayut, Kalan. 2014. “A Preliminary Study of the Possibility of Branding Communication through print Media and Special Events for Genaration-Y.” University of the Thai Chamber of Commerce Journal 34,1: 164-175. (in Thai).

กาลัญ วรพิทยุต. 2557. “การสื่อสารตราสินค้าผ่านสื่อสิ่งพิมพ์และจัดกิจ”กรรมพิเศษสำหรับลูกค้าเจเนอเรชั่นวาย กรณีศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 34, 1: 164-175.