ความเกี่ยวข้องในมูลค่าของข้อมูลลำดับชั้นมูลค่ายุติธรรมและผลกระทบของคะแนนการกำกับดูแลกิจการที่มีต่อราคาหุ้น

Main Article Content

nantiya promtong
วรวิทย์ กุลตังวัฒนา

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์งานวิจัยคือศึกษาความเกี่ยวข้องในมูลค่าของข้อมูลลำดับชั้นของมูลค่ายุติธรรมและผลกระทบของคะแนนการกำกับดูแลกิจการที่มีต่อราคาหุ้นของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างคือกิจการในกลุ่มอุตสาหกรรมธุรกิจการเงินจำนวน 175 ตัวอย่างในช่วงปี 2558-2562 และวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์สมการถดถอย ผลการศึกษาพบว่า (1) มูลค่ายุติธรรมลำดับชั้นที่ 1 มีความเกี่ยวข้องในมูลค่าของกิจการในทิศทางบวกกับราคาหุ้น ส่วนมูลค่ายุติธรรมลำดับชั้นที่ 2 มีความเกี่ยวข้องในมูลค่าของกิจการในทิศทางลบกับราคาหุ้น และมูลค่ายุติธรรมลำดับชั้นที่ 3 ไม่มีความเกี่ยวข้องในมูลค่าของกิจการ ดังนั้นมูลค่ายุติธรรมลำดับชั้นที่ 1 และมูลค่ายุติธรรมลำดับชั้นที่ 2 มีความเกี่ยวข้องในมูลค่ามากกว่ามูลค่ายุติธรรมลำดับชั้นที่ 3 (2) คะแนนการกำกับดูแลกิจการไม่ได้ส่งผลกระทบต่อความเกี่ยวข้องในมูลค่าของลำดับชั้นมูลค่ายุติธรรมและราคาหุ้นของกิจการ

Article Details

How to Cite
promtong, nantiya, & กุลตังวัฒนา ว. (2021). ความเกี่ยวข้องในมูลค่าของข้อมูลลำดับชั้นมูลค่ายุติธรรมและผลกระทบของคะแนนการกำกับดูแลกิจการที่มีต่อราคาหุ้น. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 41(3), 56–72. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/utccjournalhs/article/view/245031
บท
บทความวิจัย

References

กังสดาล แก้วหานาม ศิริลักษณ์ ศุทธชัย และ นภาพร ลิขิตวงศ์ขจร. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างระดับคะแนนการกำกับดูแลกิจการที่ประเมินโดยสมาคมส่งเสริมกรรมการบริษัทไทยกับผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารการจัดการมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 6(1),44-53.

ธีนทัต โกศัลวิตร และ เคียงขวัญ อักษรวงศ์. (2562). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการกำกับดูแลกิจการและมูลค่าตลาดของกิจการ:กรณีศึกษาของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ. วารสารบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 8(15), 82-99.

ภัทรพงศ์ เจริญกิจจารุกร. (2560). คะแนนการกำกับดูแลกิจการและปัจจัยที่มีบทบาทต่อมูลค่าธุรกิจบริษัทจดทะเบียนในประเทศไทย. วารสารบริหารธรุกิจเทคโนโลยีมหานคร, 14(1), 1-24.

แววดาว พรมเสน. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างความเสี่ยงกับตัวชี้วัดผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 40(2), 83-102.

ศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2559). ผู้สอบบัญชีกับการตรวจสอบมูลค่ายุติธรรม. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 5(2), 9-15.

สภาวิชาชีพบัญชี. (2561). มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 เรื่อง การวัดมูลค่ายุติธรรม. สืบค้นเมื่อ 30 กรกฎาคม 2563, จาก http://www.tfac.or.th/Article/Detail/66976

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย. (2558). CGR 2015 report. สืบค้นจาก http://www.thai-iod.com/imgUpload/CGR2015%20Report(1).pdf

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย. (2559). CGR 2016 report. สืบค้นจาก http://www.thai-iod.com/imgUpload/CGR%202016%20Report(1).pdf

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย. (2560). CGR 2017 report. สืบค้นจาก http://www.thai-iod.com/imgUpload/CGR%20Report%202017(1).pdf

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย. (2561). CGR 2018 report. สืบค้นจาก http://www.thai-iod.com/imgUpload/CGR%20Report%202018.pdf

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย. (2562). CGR 2019 report. สืบค้นจาก http://www.thai-iod.com/imgUpload/CGR2019%20Report(1).pdf

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2560). การกำกับดูแลกิจการที่ดี. สืบค้นเมื่อ 22มิถุนายน 2563, จาก http://www.cgthailand.org/TH/principles/CG/Pages/cg-concept.aspx#cg

Barth, M. E., & Landsman, W. R. (2010). How did financial reporting contribute to the financialcrisis?. European Accounting Review, 19(3), 399-423.

Bosch, P. (2012). Value relevance of the fair value hierarchy of IFRS 7 in Europe - How reliable are mark-to-model fair values?. FSES Working Papers 439. Faculty of Economics and Social Sciences, University of Freiburg/Fribourg Switzerland.

Enrico, L., Sabrina, P., Marco, T., & Marcantonio, D. M. (2012). Fair value hierarchy in financial instruments disclosure - Is there transparency for investors? Evidence from the banking industry. Journal of Governance and Regulation, 1(4), 23-38.

Fama, E. (1970). Efficient capital markets: A review of theory and empirical work. Journal of Finance, 25(2), 383-417.

Goh, B. W., Li, D., Ng, J., & Yong, O. K. K. (2015). Market pricing of banks’ fair value assets reported under SFAS 157 since the 2008 financial crisis. Journal of Accounting and Public Policy, 34(2), 129-145.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis (7th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.

Siekkinen, J. (2017). Board characteristics and the value relevance of fair values. Journal of Management and Governance, 21(2), 435-471.

Šodan, S. (2015). The impact of fair value accounting on earnings quality in eastern European countries. Procedia Economics and Finance, 32, 1769-1786.

Song, C. J., Tomas, W. B., & Yi, H. (2010). Value relevance of FAS 157 fair value hierarchy information and the impact of corporate governance mechanisms. The Accounting Review, 85,1375-1410.

Swatdikun, T., & Ungphakorn, T. (2018). Fair value accounting of investment securities and earnings management: Empirical evidence from Thai listed companies. Kasetsart Applied Business Journal, 12(16), 1-13.

Taplin, R., Yuan, W., & Brown, A. (2014). The use of fair value and historical cost accounting for investment properties in China. Australasian Accounting, Business and Finance Journal,8(1), 101-113.

Verriest, A., Gaeremynck, A., & Thornton, B. D. (2013). The impact of corporate governance on

IFRS adoption choices. European Accounting Review, 22(1), 39-77.

Watcharasindhu, S., & Panmanee, P. (2017). Accounting information about fair value in Thai property funds. International Journal of Applied Computer Technology and Information Systems, 6(2), 40-46.

Yao, T. D., Percy, M., Stewart, J., & Hu, F. (2017). Fair value accounting and earnings persistence: Evidence from international banks. Journal of International Accounting Research, 17(1),47-68.