การย้ายถิ่นฐานของบุคลากรทางการแพทย์ในประเทศไทย

Main Article Content

ยุวลักษณ์ เศรษฐ์บุญสร้าง

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการโยกย้ายถิ่นฐานของบุคลากรทางการแพทย์ และศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการโยกย้ายถิ่นฐานของบุคลากรทางการแพทย์ งานวิจัยนี้ใช้ข้อมูลจากการสำรวจการย้ายถิ่นฐานของประชากรของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559–2562 และใช้การวิเคราะห์สมการถดถอยแบบโลจิต (Logistic Regression) พบว่า i) บุคลากรทางการแพทย์มีพฤติกรรมการย้ายถิ่นฐานสู่ความเป็นเมืองมากกว่าชนบท  ii) ปัจจัยที่มีผลเชิงบวกต่อการตัดสินใจย้ายถิ่นฐานของบุคลากรทางการแพทย์ คือ ผลิตภัณฑ์มวลรวมรายจังหวัดต่อประชากรของจังหวัดปลายทาง และสถานภาพโสด iii) ในขณะที่ ค่าจ้าง จังหวัดที่มีโรงเรียนแพทย์ และจังหวัดที่มีโรงเรียนพยาบาล มีผลเชิงลบต่อการตัดสินใจย้ายถิ่นฐาน

Article Details

How to Cite
เศรษฐ์บุญสร้าง ย. . (2023). การย้ายถิ่นฐานของบุคลากรทางการแพทย์ในประเทศไทย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 43(3), 183–198. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/utccjournalhs/article/view/263163
บท
บทความวิจัย

References

ฐิติกร โตโพธิ์ไทย, ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์, วีระศักดิ์ พุทธาศรี, อังคณา สมนัสทวีชัย, วลัยพร พัชรนฤมล, รายิน อโรร่า, และวิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร. (2558). การบริหารจัดการโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบทและโครงการกระจายแพทย์หนึ่งอำเภอหนึ่งทุน. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข, 9(2), 146–159. สืบค้นจาก https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/4283

พุดตาน พันธุเณร, อดุลย์ บำรุง, ธิดาพร จิรวัฒนะไพศาล, นงลักษณ์ พะไกยะ, บุญเรือง ขาวนวล, และ ฑิณกร โนรี. (2561). การวิเคราะห์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพสำหรับระบบบริการระดับทุติยภูมิของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2569. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข, 12(2), 206–220. สืบค้นจาก https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/4904?locale-attribute=th

แพทยสภา. (2564). โรงเรียนแพทย์ในประเทศที่แพทยสภารับรอง ทั้งหมด 26 แห่ง. สืบค้นเมื่อ 20 เมษายน 2566, จาก https://www.tmc.or.th/medical_school_th.php

สภาการพยาบาล. (ม.ป.ป.). สถาบันการศึกษาที่ทำการสอนหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตที่ได้รับการรับรองจากสภาการพยาบาล. สืบค้นเมื่อ 20 เมษายน 2566, จาก https://www.tnmc.or.th/images/userfiles/files/1_1(30).pdf

สำนักงบประมาณ. (ม.ป.ป.). งบประมาณลงพื้นที่จังหวัด. สืบค้นเมื่อ 20 เมษายน 2566, จากhttp://www.bb.go.th/web/budget/province/province_bud62/index.html

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564). สัมประสิทธิ์สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564). สัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค (Gini coefficient) ของรายจ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค จำแนกตามเขตพื้นที่ พ.ศ. 2531–2562.สืบค้นเมื่อ 20 เมษายน 2566, จาก

http://social.nesdc.go.th/SocialStat/StatReport_Final.aspx?reportid=688&template =1R1C&yeartype=M&subcatid=69

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2563). สัดส่วนเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ต่อประชากร. สืบค้นเมื่อ 20 เมษายน 2566, จาก http://ittdashboard.nso.go.th/preview.php?id_project=60

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2564). ภาวะการทำงานของประชากร. สืบค้นเมื่อ 20 เมษายน 2566 http://www.nso.go.th/sites/2014/Pages/สำรวจ/ด้านสังคม/แรงงาน/ภาวะการทำงานของประชากร.aspx

Botezat, A., & Ramos, R. (2020) Physicians’ brain drain - a gravity model of migration flows. Globalization and Health, 16(7). doi:10.1186/s12992-019-0536-0

Castles, S., & Miller, M. J. (2009). The age of migration: International population movements in the modern world (4th ed.). London, England: Palgrave Macmillan.

Dussault, G., & Franceschini, M. C. (2006). Not enough there, too many here: Understanding geographical imbalances in the distribution of the health workforce. Human Resources for Health, 4(12). doi:10.1186/1478-4491-4-12

Ezequiel, O. D. S., Lucchetti, G., Lucchetti, A. L. G., Senger, M. H., Braga, L., Lacerda, R., … Amaral, E. (2017). Geographical distribution of medical graduates from a public university. Revista da Associacao Medica Brasileira (1992), 63(6), 512–520. doi:10.1590/1806-9282.63.06.512

Isabel, C., & Paula, V. (2010). Geographic distribution of physicians in Portugal. The European Journal of Health Economics, 11(4), 383–393. doi:10.1007/s10198-009-0208-8

Kuhn, M., & Ochsen, C. (2009). Demographic and geographic determinants of regional physician supply. Retrieved from https://www.econstor.eu/bitstream/10419/39775/1/610728547.pdf

Li, W., & Sun, H. (2019). Migration intentions of Asian and African medical students educated in China: A cross-sectional study. Human Resources for Health, 17(1), 88. doi:10.1186/s12960-019-0431-z

Mu, C. (2015). The age profile of the location decision of Australian general practitioners. Social Science & Medicine, 142, 183-193. doi:10.1016/j.socscimed.2015.08.001

O'Sullivan, A. (2009). Urban economics (7th ed.). New York, NY: McGraw-Hill/Irwin.

Phanseub, W. (2011). An analysis of push and pull factors in the migration of Koreans to Thailand: A case study of members of the Korean association in Chiang Mai Province. Veridian E-Journal Silapakorn University, 4(1), 394–409. Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/7533

Pratumkham, P., Sawaengdee, K., Theerawit, T., Tangcharoensathien, V., Thinkhamrop, K., Chaichaya, N., & Thinkhamrop, B. (2016). Effect of scholarship for nurses training on retention in their hometown: Results from Thai Nurse Cohort Study. In The National and International Graduate Research Conference 2016, Graduate School, Khon Kaen, Thailand and Universitas Muhammadiyah Yogyakarta, Indonesia (pp. 1563-1572). Retrieved from https://gsbooks.gs.kku.ac.th/59/ingrc2016/pdf/IMMO2.pdf

Serneels, P., Lindelow, M., Montalvo, J. G., & Barr, A. (2007). For public service or money: Understanding geographical imbalances in the health workforce. Health Policy and Planning, 22(3), 128-138. doi:10.1093/heapol/czm005