ผลกระทบของประสิทธิภาพการกำกับดูแลกิจการที่มีต่อประสิทธิภาพการบริหารงาน และมูลค่ากิจการ ของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของประสิทธิภาพการกำกับดูแลกิจการที่มีต่อประสิทธิภาพการบริหารงานและมูลค่ากิจการของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ (MAI) จำนวน 77 บริษัท ระหว่างปี พ.ศ. 2560-2562 โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) จากคะแนนผลการประเมินการกำกับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทยและรายงานทางการเงิน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ โดยผลการศึกษาพบว่าอุตสาหกรรมที่มีผลคะแนนในระดับดีเลิศสูงสุด 3 อันดับแรก คือ อุตสาหกรรมบริการ อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง และธุรกิจการเงิน ตามลำดับ สำหรับผลการวิเคราะห์ผลกระทบของประสิทธิภาพการกำกับดูแลกิจการที่มีต่อประสิทธิภาพการบริหารงานและมูลค่ากิจการของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ พบว่า กลุ่มอุตสาหกรรมที่ได้รับรางวัลด้านการกำกับดูแลกิจการที่ดีระดับ 5 ดาว (ดีเลิศ) และระดับ 4 ดาว (ดีมาก) มีผลกระทบต่อประสิทธิภาพการบริหารงาน นอกจากนี้รางวัลด้านการกำกับดูแลกิจการ ระดับ 5 ดาว มีผลกระทบทั้งในด้านประสิทธิภาพการบริหารงานและมูลค่ากิจการ โดยมีนัยสำคัญที่ 0.05
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์ของบทความ
ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ห้ามมิให้นำเนื้อหา ทัศนะ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของผลงานไปทำซ้ำ ดัดแปลง หรือเผยแพร่ ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนโดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากมหาวิทยาลัยหอการค้าไทยก่อน
References
กังสดาล แก้วหานาม, ศิริลักษณ์ ศุทธชัย และ นภาพร ลิขิตวงศ์ขจร. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างระดับคะแนนการกำกับดูแลกิจการที่ประเมินโดยสมาคมส่งเสริมกรรมการบริษัทไทยกับผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. WMS Journal of Management Walailak University, 6(1), 44-53.
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2550). การวิเคราะห์สถิติ: สถิติสาหรับบริหารและวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (ม.ป.ป.ก). ข้อมูลรายบริษัท/หลักทรัพย์. สืบค้นเมื่อ 18 สิงหาคม 2564, จาก https://portal.set.or.th/mai/stockslookup.do?locale=th_TH
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (ม.ป.ป.ข). แนวปฏิบัติสำคัญด้านการกำกับดูแลกิจการที่ดีสำหรับบริษัทจดทะเบียน. สืบค้นเมื่อ 10 พฤษภาคม 2563, จาก https://www.setsustainability.com/libraries/961/item/CG%20practices?type=&search
ทิพย์ธัญญา หริณานนท์. (2560). อิทธิพลของการกำกับดูแลกิจการที่มีต่อการจัดการกำไรและมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์: กรณีศึกษาบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่ม SET 100. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา.
นภพรรณ ลิ่มตั้ง. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างการกำกับดูแลกิจการและขนาดของคณะกรรมการบริษัทกับคุณภาพกำไรของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET 100).(การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.
นวลนภา อัครพุทธิพร และ ศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2550). คะแนนการประเมินการกำกับดูแลกิจการ มีความสัมพันธ์กับมูลค่าของกิจการหรือไม่. วารสารวิชาชีพบัญชี, 3(6), 95-106.
นัทวตรา ปัณชนาธรณ และ พรทิวา แสงเขียว. (2564). อิทธิพลของการกำกับดูแลกิจการที่ดีและความรับผิดชอบต่อสังคมที่มีต่อผลการดำเนินงานธุรกิจหมวดอุตสาหกรรมกลุ่มพลังงานและสาธารณูปโภคของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 8(8), 77-89.
นิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะ. (2558). หน่วยที่ 15 การจัดการตามหลักธรรมาภิบาลและการควบคุมภายใน. เอกสารการสอนชุดวิชาการวิจัยทางธุรกิจ การวางแผน และการควบคุมทางการเงิน (น. 425-464). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
เบญจวรรณ ศุภภัทรพร. (2561). ผลกระทบของระดับคะแนนการกำกับดูแลกิจการต่อผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารสถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ, 4(2), 171-190.
ภัทรพงศ์ เจริญกิจจารุกร. (2559). ผลคะแนนการกำกับดูแลกิจการกับมูลค่าธุรกิจของบริษัทจดทะเบียน กลุ่มดัชนี SET 50: บทบาทและความสัมพันธ์ของผู้ถือหุ้นรายใหญ่. วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่, 9(1), 31-45.
ภัทรพงศ์ เจริญกิจจารุกร. (2560). คะแนนการกำกับดูแลกิจการและปัจจัยที่มีบทบาทต่อมูลค่าธุรกิจบริษัทจดทะเบียนในประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร, 14(1), 1-24.
มนวิกา ผดุงสิทธิ์. (2548). การประเมินผลการปฏิบัติงานตามแนวคิด Tobin-tobin’s Q. วาสารบริหารธุรกิจ, 28(106), 13-22.
มุจจรินทร์ วัฒนะสถิตย์ และสุภา ทองคง. (2565). อิทธิพลของการกำกับดูแลกิจการที่มีผลต่อผลตอบแทนจากการลงทุนในหุ้นสามัญของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่ม SET100. วารสารวิจัยวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 6(1),1-5.
รมิดา คงเขตวณิช. (2563). การประเมินการกำกับดูแลกิจการที่ดีและมูลค่ากิจการของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(9), 425-441.
วิจิตรา จำลองราษฎร์. (2561). ความสัมพันธ์ของการกำกับดูแลกิจการ ความเสี่ยงในการล้มละลาย และผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 12(1), 60-81.
สถาบันกรรมการบริษัทไทย. (2560). Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2017. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย. (2560). หลักเกณฑ์การสำรวจโครงการสำรวจการกำกับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทย. สืบค้นเมื่อ 10 ธันวาคม 2564, จาก http://www.thai-iod.com/imgUpload/เอกสารเผยแพร่โครงการ%20CGR%202017-THAI_11_7_2017.pdf
สรินยา เชาวน์เกษม. (2553). ผลการดำเนินงานของกิจการกับคะแนนการประเมินการกำกับดูแลกิจการที่ดี. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์.(ม.ป.ป.). หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี สำหรับบริษัทจดทะเบียน ปี 2560. สืบค้นเมื่อ 10 พฤษภาคม 2563, จาก https://www.sec.or.th/cgthailand/TH/pages/cgcode/cgcodeintroduction.aspx
สุรางค์ เห็นสว่าง. (2560). ผลกระทบจากระดับคะแนนการกำกับดูแลกิจการและโครงสร้างผู้ถือหุ้นต่อผลตอบแทนส่วนเกินและผลประกอบการเชิงการเงิน: การศึกษาเชิงประจักษ์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาการสถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ, 3(2), 35-51.
อนุวัฒน์ ภักดี และ ศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2562). โครงสร้างการถือหุ้นโดยชาวต่างชาติและคุณภาพกำไรของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 39(3), 1-19.
Al- Haddad, W, Alzurqan, S. T., & Al_Sufy, F. J. (2011). The effect of corporate governance on the performance of Jordanian industrial companies: An empirical study on Amman Stock Exchange. International Journal of Humanities and Social Science, 1(4), 55-69.
Alanazi, A.S., & Alhoqail, S.A. (2019). Corporate governance and firms stock returns in the emerging market. Risk Governance & Control: Financial Markets & Institutions, 9(3), 66-73. doi: 10.22495/rgcv9i3p5
Amba, S. M. (2014). Corporate governance and firms’ financial performance. Journal of Academic and Business Ethics, 8, 1-11.
Black, B, S., Jang, H., & Kim, W. (2006). Does corporate governance predict firms' market values: Evidence from Korea. Journal of Law, Economics & Organization, 22(2), 366-413.
Brown, L. D., & Caylor, M. L. (2004). Corporate governance and firm performance. Retrieved from
https://papers.ssrn.com/sol3/papers.cfm?abstract_id=586423
Carvalhal, A., & Nobili, C. (2011) Does corporate governance matter for stock returns? Estimating a four-factor asset pricing model including a governance index. Quantitative Finance, 11(2), 247-259. doi: 10.1080/14697680903373676
Chung, K. H., & Pruitt, S. W. (1994). A simple approximation of Tobin’s q. Financial Management, 23(3), 70-74.
Drobetz, W., Schillhofer, A., & Zimmermann, H. (2004). Corporate governance and expected stock returns: evidence from Germany. European Financial Management, 10(2), 267–293.
Epps, R. W., & Cereola, S. J. (2008). Do institutional shareholder services (ISS) corporate governance ratings reflect a company's operating performance?. Critical Perspectives on Accounting, 19(8), 1135-1148.
Gompers, P., Ishii, J., & Metrick, A. (2003). Corporate governance and equity prices. Quarterly Journal of Economics, 118(1), 107-155.
Jacobson, R. (1987). The validity of ROI as a measure of business performanceé, The American Economic Review, 77(3), 470-478.
Jensen, M. C., & Meckling, W. H. (1976). Theory of the firm: Managerial behavior, agency costs and ownership structure. Journal of financial economics, 3(4), 305-360.
Klapper, L. F., & Love, I. (2002). Corporate governance, investor protection, and performance in emerging markets. Washington DC: World Bank.
Landsman, W. R., & Shapiro, A. C. (1995). Tobin's Q and the relation between accounting ROI and economic พeturn. Journal of Accounting, Auditing and Finance, 10(1), 103-118.
Mashayekhi, B., & Bazaz, M. S. (2008). Corporate governance and firm performance in Iran. Journal of Contemporary Accounting and Economics, 4(2), 156-172.
Miyajima, H. (2005). The performance effect and determinants of corporate governance reform in Japan. Tokyo: Waseda University and RIETI.
Nam, S.W., & Nam, I.C. (2004). Corporate governance in Asia: Recent evidence from Indonesia, Republic of Korea, Thailand, and Malaysia. Retrieved from https://www.adb.org/sites/default/files/publication/159384/adbi-corp-gov-asia.pdf
Owala, A.C. (2010). Corporate governance and stock returns: Evidence from the S&P 500 (Unpublished master’s thesis). University of VAASA, Finland.
Phillips, J. (2002). Measuring the return on investment in training and development certification materials. Woburn, MA.: Butterworth Heinemann.
Richard, P. J., Devinney, T. M., Yip, G. S., & Johnson, G. (2009). Measuring organizational performance: Towards methodological best practice. Journal of management.
Sami, H., Wang, J. T., & Zhou, H. (2011). Corporate governance and operating performance of China listed firms. Journal of International Accounting, Auditing and Taxation, 20, 106 – 114.
Shrestha, N. (2020). Detecting multicollinearity in regression analysis. American Journal of Applied Mathematics and Statistics, 8(2), 39–42.
Tobin, J., & Brainard, W. C. (1977) Asset markets and the cost of capital. In W. Fellner, B. A. Balassa, & R.R. Nelson (Eds.), Economic progress, private values and public policy, essays in Honor of William Fellner (pp. 235-262). Amsterdam: North-Holland Publishing.
Turnacigil, S., Guler, H., & Dogukanli, H. (2019). The effect of corporate governance on stock returns by PVAR: An investigation in BIST. International Journal of Economics, Business and Politics, 3(2), 367-380.