การประยุกต์ใช้กระบวนการจัดการความรู้ในการถ่ายโอนความรู้ของผู้เรียน

Main Article Content

ศัชชญาส์ ดวงจันทร์

บทคัดย่อ

การศึกษาจำเป็นต้องมีการบูรณการเพื่อให้ผู้เรียนมีการเรียนรู้เชิงประจักษ์ สามารถผสมผสานความรู้เพื่อแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์  รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการผสมผสานเนื้อหา หลักการและกิจกรรมที่เชื่อมโยงความรู้ในเนื้อหารายวิชาเข้าด้วยกัน ด้วยการรวมเป็นเป้าหมายหลัก เพื่อให้เกิดการเรียนรู้โดยองค์รวม มีหลักแนวคิดในการถ่ายทอดความรู้และการเปลี่ยนรูปแบบของความรู้ เพื่อให้เกิดเป็นความรู้ใหม่ กำหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ในกระบวนการถ่ายโอนสร้างความรู้ระหว่างการจัดการเรียนการสอนมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดการถ่ายโอนความรู้ (Transfer Knowledge) เป็นการสร้างสภาพแวดล้อมใหม่ในการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ใช้ทักษะผสมผสานกัน นำไปสู่สถานการณ์จริง ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างยั่งยืนมีศักยภาพในการพัฒนาตนเอง ไปสู่พัฒนาเศรษฐกิจ พัฒนาสังคมฐานความรู้ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

[1] พวงทอง เพชรโทน."การออกแบบและพัฒนา
โมเดลสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้บนเครือข่ายที่
ส่งเสริมทักษะทางปัญญาและการคิดอย่างมี
วิจารณญาณสำหรับนักศึกษาระดับปริญญา
ตรี" ดุษฎีบัณฑิตสาขาเทคโนโลยีการศึกษา,
คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น,
2555.
[2] สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
"รายงานการปฏิรูปการศึกษาไทย ".
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ปี
ที่ 6(78), พ.ศ. 2557.
[3] วิเชียร ชุติมาสกุล .(2555). Educational
Model National Qualification
Framework. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัย
อีสเทิร์นเอเชีย, 5(1),15-23.
[4] Aurilla Aurelie, Bechina Arntzen,
Lugkana Worasinchai and Vincent M.
Ribière."An insight into knowledge
management practices at Bangkok
University". Journal of Knowledge
Management, 13(2),pp.127–144,2009.
[5] ประศาสน์ นิยม. "ปัจจัยที่ส่งผลต่อการ
แบ่งปันความรู้ขององค์การธุรกิจขนาดใหญ่
ในประเทศไทย", ดุษฎีนิพนธ์บริหารธุรกิจ
ดุษฎีบัณฑิต, คณะบริหารธุรกิจ,
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, 2555.

[6] คณะทำงานการจัดการความรู้ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสวนดุสิต, คู่มือการจัดโครงการการ
จัดการความรู้, มหาวิทยาลัยสวนดุสิต, พ.ศ.
2558.
[7] changemakerobs. what is Knowledge
Management?, Retrieved April 26,
2016, from. https://changemakerobs.
wordpress.com/2013/04/20/what-is-
knowledge-management/.2013
[8] Shatchaya Duangchant, Paiboon
Kiattiikomol and Sittichai
Keawkuekool. “Knowledge Transfer
in B-O-R-N Model To Enhance
Computer Learners' Learning
Outcomes in Knowledge and
Cognitive Skills”. The Learning
Organization. 23(2/3), pp.170–183.
2016.
[9] ทิศนา แขมมณี, ศาสตร์การสอน : องค์
ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มี
ประสิทธิภาพ, พิมพ์ครั้งที่ 18, กรุงเทพฯ,
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พ.ศ.2557.
[10] Nonaka I and Toyama R. A firm as a
dialectic being: toward the dynamic
theory of the firm. Industrial and
Corporate Change,2002, pp.995-1109.
[11] ฆนัท ธาตุทอง, สอนคิด : การจัดการเรียนรู้
เพื่อพัฒนาการคิด, พิมพ์ครั้งที่ 2,นครปฐม,
เพชรเกษมการพิมพ์, พ.ศ.2554.




[12] Jonassen, D.H., Jane, H., Joi, M., &
Rose, M.M. Learning to Solve
Problems with Technology : A
Constructivist Perspective, 2th ed,
[n.p.],Prentice Hall United States,
2003.
[13] Christie, M.F., Jaun, A. and Jonsson,
L.-E. "Evaluating the use of ICT in
engineering education". European
Journal of Engineering Education,
27(1),pp.13-20,2002.