เส้นทางเพื่อสร้างความสำเร็จของผู้ประกอบการธุรกิจร้านอาหารไทยภายในประเทศและต่างประเทศ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินธุรกิจร้านอาหารไทยในประเทศและต่างประเทศ เพื่อสอดคล้องกับกำลังแรงงานของอาชีวศึกษาด้านอาหารและการโรงแรมที่มีความต้องการสูงทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้งแรงงานเหล่านี้ยังสามารถพัฒนาตนเองเพื่อก้าวสู่โอกาสการเป็นเจ้าของธุรกิจหรือผู้ประกอบการรุ่นใหม่ โดยการสร้างความสำเร็จของผู้ประกอบธุรกิจการร้านอาหารไทยภายในประเทศและต่างประเทศประกอบด้วยปัจจัยภายในที่ผู้ประกอบการสามารถควบคุมได้ เช่น รสชาติอาหาร คุณภาพมาตรฐาน วัตถุดิบ การบริการ ทุน แรงงาน มาตรฐานแรงงาน รายการอาหาร รายการอาหาร การตกแต่ง สถานที่ตั้ง บรรยากาศ คุณค่าทางโภชนาการของอาหาร ส่วนปัจจัยภายนอกเป็นส่วนที่อาจส่งกระทบตามหากไม่ได้ศึกษาอย่างแท้จริง เช่น เศรษฐกิจ การตลาด และการแข่งขัน การสนับสนุนภาครัฐ และความร่วมมือ การขนส่ง และเทคโนโลยีการผลิต ผู้บริโภค และพฤติกรรมการบริโภค ข้อบังคับ กฎระเบียบ กฎหมาย สื่อ และประชาสัมพันธ์ ศาสนา และวัฒนธรรม ความต้องการของผู้บริโภค และค่านิยม
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
สงวนสิทธิ์ โดย สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1
306 หมู่ 5 ถนนมิตรภาพ หนองคาย-อุดรธานี ตำบลโพธิ์ชัย อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย 43000
โทร 0-4241-1445,0-4241-1447
ISSN : 3027-6861 (print) ISSN : 3027-687X (online)
References
[2] ฐานเศรษฐกิจ. (2563, กันยายน, 1). กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศยกระดับร้านอาหารไทยในต่างประเทศ. [Online]. แหล่งที่มา: https://www.thansettakij.com/content/business/151273, 2560.
[3] วิศรุต สุวรรณา. (2563, กันยายน, 1). “Thai Delicious” ศาสตร์แห่งรสชาติอาหารไทยจากครัวไทยสู่ครัวโลก. [Online]. http://www.nia.or.th/innolinks/page.php?issue=201304§ion=6, 2556.
[4] วิลาวัลย์ อ่อนวงษ์เปรม, ชัยพล หอรุ่งเรือง, พิษณุ สันทรานันท์ และศรายุทธ เล็กผลิผล. “กลยุทธ์การปรับตัวด้านการตลาดที่มีต่อการรับรู้คุณค่าอาหารไทยดั้งเดิม”, วารสารวิทยาลัยดุสิตธาน, ปีที่14 ฉบับที่ 1, มกราคม-เมษายน, หน้า 254-266, 2563.
[5] foodfocusthailand. (2563, ธันวาคม, 25). ร้านอาหาร “ไทย ซีเล็กท์” 18 ประเทศทั่วโลกตบเท้าเข้าศึกษาธุรกิจบริการอาหารไทย ในงาน THAIFEX 2018. [Online]. แหล่งที่มา: www.foodfocusthailand.com/news/ร้านอาหาร-ไทย-ซีเล็กท์, 2561
[6] Thai select. (2564, มกราคม, 8). Thai select. [Online]. แหล่งที่มา: http://www.thaiselect.com/,n.d.
[7] Leach, J., Mercer, H., Stew, G. and Denyer, S. “Improving food hygiene standards: A customer focused approach,” British Food Journal, Vol.103, No.4, pp. 238–252, 2001.
[8] พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์ และนิธิยา รัตนาปนนท์. (2563, พฤศจิกายน, 10). คุณภาพอาหาร. [Online]. แหล่งที่มา: http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/3022/food-quality, ม.ป.ป.
[9] สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2564, มกราคม, 14). ยกระดับร้านอาหาร Clean Food Good Taste Plus. [Online]. แหล่งที่มา: www.thaihealth.or.th/Content/25386-ยกระดับร้านอาหาร%20Clean%20Food%20Good%20Taste%20Plus.html, 2557.
[10] สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2564, มกราคม, 14). Clean Food Good Taste. [Online]. แหล่งที่มา: http://foodsan.anamai.moph.go.th/main.php?filename=CFGT, ม.ป.ป.
[11] Yuanji Zheng. “A Study of Some of the Factors Determining the Choice of International Restaurants by Bangkokians,” The Journal of Service Marketing, Vol. 4 June. 20, pp. 156-167, 2011.
[12] Maleekaew C. “Finding of key factors in creating small business system’s success: The case study in Thai restaurants in Sweden.” M.A. Thesis, Mälardalen University, Sweden, 2008.
[13] Lertputtarak, “The relationship between Destination Image, Food Image, and Revisiting Pattaya, Thailand”, International Journal of Business and Management, Vol.7, No.5, pp. 111-122, 2012.
[14] ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2563, สิงหาคม, 30). ร้านอาหารไทยในต่างแดนสร้างอาชีพพ่อ/แม่ครัวไทย. [Online]. แหล่งที่มา:www.kasikornresearch.com/TH/K-EconAnalysis/Pages/ViewSummary.aspx?docid=3327, 2545.
[15] Aksoydan, E. “Hygiene factors influencing customers’ choice of dining-out units: findings from a study of university academic staff,” Journal of Food Safety, Vol.27, pp. 300-316, 2007.
[16] ปรัชญา เหินสว่าง และชาญชัย จิวจินดา. “ปัจจัยความสําเร็จของการประกอบธุรกิจร้านอาหารไทยในประเทศสหรัฐอเมริกา,” วารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ, ปีที่ 8 ฉบับที่ 3, กันยายน –ธันวาคม, หน้า 106-115, 2563.
[17] ทวีศักดิ์ เทพพิทักษ์. “ความปกติรูปแบบใหม่หรือวิถีชีวิตปกติแบบใหม่ภายหลังโรคอุบัติใหม่ โควิด-19 : ธุรกิจออนไลน์ ธุรกิจค้าปลีก และธุรกิจร้านอาหาร กับทิศทางการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมขนส่งและโลจิสติกส์ไทย,” วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, ปีที่ 8 ฉบับที่ 1,มกราคม–มิถุนายน, หน้า 246-274, 2564.
[18] สิริพันธุ์ จุลกรังคะ, โภชนาศาสตร์เบื้องต้น, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยกษตรศาสตร์, พ.ศ. 2558
[19] Gulasirima, R. and Yambunjong, P. Thai Food Business Model in ASEAN Markets: A Case Study of Thailand, Lao People’s Democratic Republic and Socialist Kingdom of Cambodia,” Program & Abstracts, Commission on Higher Education Congress IV, University Staff Development Consortium, p. 276, 2011.
[20] ณรงค์ สมพงษ์, กลยุทธ์การประชามสัมพันธ์เชิงรุกครัวไทยสู่ครัวโลก, Thailand Restaurant New, พ.ศ. 2550, หน้า 80.
[21] พรเทพ อนุสสรนิติสาร จิโรจ บุญจนาถบพิธ และสุวิทย์ เริงวิทย์, “โครงการจัดทำระบบสารสนเทศแบบเว็บ เพื่อการจัดวัตถุดิบเครื่องปรุง เครื่องใช้และอุปกรณ์ตกแต่ง สำหรับร้านอาหารไทยในต่างประเทศ”, รายงานวิจัย, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2548.
[22] อนัญญา กรรณสูตร และวรวรรณ องค์ครุฑรักษา, “การศึกษาเรื่องการรับรู้ทางประสาทสัมผัสต่อร้านอาหารไทยของผู้บริโภคชาวสิงคโปร์ และความสัมพันธ์กับปัจจัยภูมิหลัง”. วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา, ปีที่ 6 ฉบับที่ 1, มกราคม-มิถุนายน, หน้า 65-82, 2556.
[23] ปาริชาติ เบ็ญฤทธิ์ และน้ำทิพย์ ตระกูลเมฆี, “ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านคุณภาพของอาหารคุณภาพการบริการ สภาพแวดล้อมทางกายภาพของร้านอาหารและความพึงพอใจของลูกค้าร้านอาหารไทยในประเทศมาเลเซีย,” วารสารวิทยาการจัดการ, ปีที่ 3 ฉบับที่ 1, หน้า 41-61, 2559.
[24] ธันยมัย เจียรกุล, “มิติทางวัฒนธรรมของชาวจีนที่มีผลต่อความคาดหวังคุณภาพการบริการ ของธุรกิจร้านอาหารไทย”, วารสารธุรกิจปริทัศน์, ปีที่ 11 ฉบับที่ 1, มกราคม – มิถุนายน, หน้า 196-212, 2562.
[25] Nguyen Thi Kim Chau, ภารดี มหาขันธ์ และ ภาณุพงศ์ อุดมศิลป์, “ร้านอาหารไทยในนครโฮจิมินห์: ทุนความเป็นไทยการดำรงอยู่และแนวโน้ม”, วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, ปีที่ 27 ฉบับที่ 55, กันยายน – ธันวาคม, หน้า 256-275, 2562.
[26] เปรมฤทัย แย้มบรรจง, พวงเพ็ชร์ นิธยานนท์ และอัครพันธ์ รัตสุข, “สถานการณ์ปัจจุบัน และแนวทางการประกอบธุรกิจภัตตาคาร/ร้านอาหารไทย ประเทศกัมพูชา”, วารสารปัญญาภิวัฒน์, ปีที่ 9 ฉบับพิเศษ ประจําเดือนกรกฏาคม. หน้า 143-156, 2560.
[27] สุทธิพร บุญมาก, “ร้านอาหารไทยในประเทศออสเตรเลีย:ภาพสะท้อน ‘ความเป็นไทย’ และ ‘การปรับตัว’,”. วารสารศิลปศาสตร์, ปีที่ 5 ฉบับที่ 1, มกราคม-มิถุนายน, หน้า 90-103, 2556.
[28] Athena H.N. Mak, Margaret Lumbers, Anita Eves and Richard C.Y. “Factors Influencing Tourist Food Consumption,” International Journal of Hospitality Management. Vol. 44 January, pp. 1-25, 2014.
[29] Pannakarn L. “A Model of Consumer Decision-Making for the Adoption of Thai Food in Victoria , Australia,” Department of Hospitality, Tourism and Marketing Faculty of Business and Law, Victorie university, 2007.