การศึกษาระบบการจัดการอาชีวศึกษา การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ และเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีต่อความพึงพอใจของนักเรียนสาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยอาชีวศึกษาในสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 3
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของระบบการจัดการอาชีวศึกษา การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ และเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีต่อความพึงพอใจของนักเรียนสาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยอาชีวศึกษาในสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1-3 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยอาชีวศึกษา ในสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 3 (จังหวัดอุตรดิตถ์ พิษณุโลก และสุโขทัย) จำนวน 438 คน ในงานวิจัยนี้ได้ใช้สูตรของ Taro Yamane ในการคำนวณหากลุ่มตัวอย่าง สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบพหุคูณ และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า ระบบการจัดการอาชีวศึกษา ด้านการประยุกต์ใช้หลักสูตร ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการบริหารจัดการ ด้านการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ด้านความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ และด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย และเทคโนโลยีดิจิทัลส่งผลต่อความพึงพอใจของนักเรียนสาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยอาชีวศึกษาในสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 3 อยู่ในระดับมาก
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
สงวนสิทธิ์ โดย สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1
306 หมู่ 5 ถนนมิตรภาพ หนองคาย-อุดรธานี ตำบลโพธิ์ชัย อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย 43000
โทร 0-4241-1445,0-4241-1447
ISSN : 3027-6861 (print) ISSN : 3027-687X (online)
References
เสาวลักษณ์ อนุยันต์, “อนาคตทางการศึกษาผลกระทบจากวิกฤติการแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19”,วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, ปีที่ 14, พ.ศ.2563, หน้า 14-25.
สมพร ปานดำ, “พลิกวิกฤตสู่โอกาสของอาชีวศึกษาไทยบนความปกติใหม่” วารสารสังคมศาสตร์และมานุษญวิทยาเชิงพุธ, ปีที่ 5, พ.ศ.2563, หน้า1-13.
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา,
เรื่อง รายงานประจำปี 2563 ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2564.
อัญชนา กัลยาเรือน, นิรมล พลแพงขวาและขวัญธิดา หลานเศษฐา, “ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อระดับปริญญาตรีในสาขาวิชาการบัญชีวิทยาลัยเทคนิคสกลนคร สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2, การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 13, พ.ศ.2565, หน้า 1617-1627.
อลิตา ดาด้วง, “แนวทางการพัฒนาการจัดสรรงบประมาณที่ส่งผลต่อคุณภาพนักเรียนของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1”, วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พ.ศ.2561
นพภัค จิตมั่นคงธรรม, การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการนำนโยบายประกันคุณภาพการศึกษาไปปฏิบัติ: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ, วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, พ.ศ.2562.
สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ,(ร่าง) ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พ.ศ.2562, สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ,
พ.ศ.2563.
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา,ประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ. 2562, (2562, 22 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136 ตอนพิเศษ 130 ง.
หน้า 3-18.
รียา โชติธรรม, ณัฐพล แจ้งอักษรและสุวิมล ว่องวาณิช, “การรับรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมค่านิยม 12 ประการของครูอาจารย์ในสถานศึกษาในเขตภาคเหนือ”, วารสารศึกษาศาสตร์สารหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ปีที่ 2 พ.ศ. 2561, หน้า 29-42.
Marshall, D.T., Shannon, D.M., & Love, S.M, 2020, “How teachers experienced the COVID-19 transition to remote instruction”. Phi Delta Kappan, 102(3), pp. 46-50.
Hoyer, W. D. & Macinnis, D. J, 1997, Consumer Behavior. Boston: Houghton Mifflin.
กระทรวงศึกษาธิการ,ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ. 2562. (2562, 25 พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136 ตอนพิเศษ 289 ง. หน้า 1-2.
กุสุมา แย้มเกตุ, ทิพวรรณ เดชสงค์และณิชาภัทร จาวิสูตร, “ความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการของกองบริการการศึกษา: กรณีศึกษา สถาบันอุดมศึกษาแห่งหนึ่งเขตกรุงเทพมหานคร”, Journal of Roi Kaensarn Academi, ปีที่ 7, หน้า 82-97.
พิพัฒน์พงศ์ ม่วงกล่ำ และพิมลพรรณ เพชรสมบัติ, “การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต 2”, วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยปทุมธานี, ปีที่ 13, หน้า 271-282.
นิตยา มณีวงศ, “ศึกษาพฤติกรรมและปัจจัยความสำเร็จการเรียนออนไลน์แอปพลิเคชันไลน์ ในช่วงวิกฤต COVID 19”, วารสารครุศาสตร์, ปีที่ 15, หน้า 161-173.
โอภาส มีเชาว, “ประสิทธิผลการนํานโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ เพื่อการชําระหนี้เงินกูยืมของกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา”, วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, ปีที่ 9, หน้า 532-545.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. 2562, (2562, 26 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136 ตอนพิเศษ 57 ก. หน้า 49-53.
Paposa, K. K., & Kumar, Y. M., 2019, Impact of training and development practices on job satisfaction: A study on faculty members of technical education institutes. Management and Labour Studies, 44(3), pp. 248-262.
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, คู่มือการจัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง, สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา พ.ศ.2552, หน้า 5-6.
นิติ นาชิต, “กลยุทธ์การเสริมสร้างความเข้มแข็งการจัดการเรียนรู้อาชีวศึกษาด้านธุรกิจและบริการด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล”, วารสารการอาชีวศึกษาภาคกลาง, ปีที่ 6, หน้า 10-23.
พัฒนา พรหมณี, ยุพิน พิทยาวัฒนชัย และจีระศักดิ์ ทัพผา, “แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจและการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจในงาน”, วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย, ปีที่ 26, หน้า 59-66.
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา, ประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พ.ศ. 2562, (2562, 22 พฤษภาคม), ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136 ตอนพิเศษ 130 ง. หน้า 3-24.
Aaker, D. A., Kumar, V., & Day, G. S, 2001, Marketing Research. New York: John Wiley andSons.
ระพินทร์ โพธิ์ศรี, “ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ”, เอกสารประกอบการสอน, คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, หน้า 19.
Nunnally, J. C., and Bernstein, I. R, 1994, Psychometric in Theory, (3rd ed.). New York: McGraw Hill.
Black. K., 2006, Business statistics for contemporary decision making. USA : John Wiley and Son, pp. 585.
Maslow, A. H., 1970, Motivation and Personality. New York : Harpers and Row.