สื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีความจริงเสริม เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาสื่อการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริม เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น 2) ประเมินความเหมาะสมของสื่อการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริม เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ประชากรกลุ่มเป้าหมายผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ 1) สื่อการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริม เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น 2) แบบประเมินความเหมาะสมของสื่อการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริม เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ผลการวิจัยพบว่า สื่อการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริม เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ มีความเหมาะสมของสื่อการสอนอยู่ในระดับดีมาก ( =4.56, S.D.=0.50)
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
สงวนสิทธิ์ โดย สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1
306 หมู่ 5 ถนนมิตรภาพ หนองคาย-อุดรธานี ตำบลโพธิ์ชัย อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย 43000
โทร 0-4241-1445,0-4241-1447
ISSN : 3027-6861 (print) ISSN : 3027-687X (online)
References
กระทรวงศึกษาธิการ, “พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545”, กรุงเทพฯ:องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์, พ.ศ.2545.
บุญชม ศรีสะอาด, “การวิจัยเบื้องต้น พิมพ์ครั้งที่ 7”, สุวีริยาสาส์น, พ.ศ. 2545.
ไชยยศ เรืองสุวรรณ, “เทคโนโลยีการศึกษาและทฤษฎีและการวิจัย”, โอเดียนสโตร์,พ.ศ. 2543.
ณัฐกานต์ ภาคพรต, “การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบปฏิสัมพันธ์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงตามหลักการการศึกษาบันเทิงเพื่อส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์”วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, พ.ศ.2557.
ทิศนา แขมมณี, “ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ”, พิมพ์ครั้งที่13, สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พ.ศ. 2553.
ดุสิต ขาวเหลือง และอภิชาติ อนุกุลเวช,“การพัฒนาสื่อการเรียนรู้สามมิติแบบมีปฏิสัมพันธ์เสมือนจริงโดยใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม Augmented Reality(AR) เพื่อพัฒนาทักษะการคิดของนักศึกษาอาชีวศึกษา ที่มีระดับการคิดอย่างมีวิจารณญาณต่างกัน”, โครงการวิจัยมหาวิทยาลัยบูรพา, พ.ศ. 2561.
ดวงกมล อังอำนวยศิริ, “สื่อการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีภาพเสมือนจริง เรื่อง การใช้งานมัลติมิเตอร์”, ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร.สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, พ.ศ. 2559.
พนิดา ตันศิริ, “โลกเสมือนผสานโลกจริง(Augmented reality).” วารสารนักบริหารมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ฉบับที่ 2 เม.ย.-มิ.ย.,พ.ศ. 2552.
วรรณวิศา วัฒนสินธุ์, “รูปแบบการเรียนรู้โครงงานเชิงวิศวกรรมโดยใช้ห้องปฏิบัติการเสมือนผสมความจริงเสริมเพื่อพัฒนาทักษะวิศวกรรมและนวัตกรรม” วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ
จอมเกล้าพระนครเหนือ, พ.ศ. 2563.
อภิชาต อนุกูลเวชและภูวดล บังบางพล,“องค์ประกอบของการพัฒนาสื่อ AR.”เอกสารประกอบการอบรมเรื่องการผลิตสื่อดิจิทัสแบบเสมือนจริงโดยใช้เทคโนโลยี AR บนสมาร์โฟน และแท็บเล็ตด้วยโปรแกรม Aurasma, การประชุมเชิงปฏิบัติการการดำเนินกิจกรรมบนระบบเครือข่ายสารสนเทศเพื่อการพัฒนาการ
ศึกษา WUNCA ครั้งที่ 27 วิทยาเขตกาญจนบุรี, มหาวิทยาลัยมหิดล, พ.ศ. 2556.
อาทิตยา บุญเกิด, “การสร้างบทเรียนมัลติมิเดียร่วมกับเทคโนโลยีผสานความจริงวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง การใช้งานคอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน”, ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการเรียนรู้และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, พ.ศ. 2557.
เอกวิทย์ แก้วประดิษฐ์, “เทคโนโลยีการศึกษาหลักการและแนวคิดสู่ปฏิบัติ พิมพ์ครั้งที่ 1”, การผลิตเอกสารและตำรามหาวิทยาลัยทักษิณ เฮ้าส์ออฟเคอร์มีสท์,พ.ศ. 2545.
Barley S. [online]. Here’s what marketers need to know about Generation Z., 2016 [Retrieved sep 1,2022]. Available from : https://www.sprinklr.com/the-way/what-marketersneed-know-generation-z/.
Bruce,D.,Karen,M.and Frank , R. Nerve Garden: a Public Terrarium in Cyberspace, Biota.org,Consortium Special Interest Group,Scotts Valley USA, [online]. Available from :http://www.biota.org/papers/ngalife.htm [2022,October].