การบริหารจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ของสถานศึกษาสังกัด สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1

Main Article Content

ปารวี แก้วมณีชัย
เอกราช โฆษิตพิมานเวช

บทคัดย่อ

การบริหารจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีเป็นการจัดการศึกษาเพื่อผลิตและแรงงานฝีมือที่มีคุณภาพสนองความต้องการของตลาดแรงงาน โดยประสานความร่วมมือกันระหว่างสถานศึกษากับสถานประกอบการ ในการบริหารจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีอย่างมีคุณภาพ ดังนั้น แนวทางการบริหารจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของสถานศึกษาสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่  1) ด้านหลักสูตร 2) ด้านครูในสถานศึกษาและในสถานประกอบการ 3) ด้านสถานประกอบการ และ  4) ด้านผู้เรียน โดยคำนึงถึงความพร้อมในการบริหารจัดการของสถานศึกษาและสถานประกอบการให้    ประสบความสำเร็จในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570), สำนักนายกรัฐมนตรี, 2565.

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา, หลักเกณฑ์การฝึกงานหลักสูตรการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพในสถานประกอบการ พ.ศ. 2565, 2565.

สำนักนายกรัฐมนตรี, พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551, 2551.

ศิริพรรณ ชุมนุม, รายงานผลการวิจัยการปฏิรูปอาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพประเทศอิสราเอล, กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา, 2546.

นิรุตต์ บุตรแสนลี, “การพัฒนารูปแบบการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีที่มุ่งเน้นประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ด้วยกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม”, หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัย วัดผล และสถิติการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561.

ลลิดา ธรรมรส, “แนวทางการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในสภาวะวิกฤต”, วารสารสมาคมพัฒนาวิชาชีพการบริหารการศึกษาแห่งประเทศไทย ปีที่ 3 ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2564 หน้า 45-57, 2564.

นันทิชา มารแพ้ และคณะ, “การนำเสนอรูปแบบการวางแผนการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของวิทยาลัยเทคนิค สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา”, วารสารบัณฑิตศึกษา, ปีที่ 16 ฉบับที่ 73 ,หน้า 171-181, 2562.

อิสรียา ออสุวรรณ และคณะ. “การบริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชนระบบทวิภาคี ในเขตกรุงเทพมหานคร”, วารสารอิเล็กทรอกนิกส์ทางการศึกษา, ปีที่ 16, ฉบับที่ 2 , 2564.

ณัฐวิทย์ มุงเมือง และคณะ, “การพัฒนาความร่วมมือการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของวิทยาลัยการอาชีพในภาคเหนือตอนบน”,วารสารพิฆเนศวร์สาร, ปีที่ 13, ฉบับที่ 1, หน้า 133-146, 2560.

พิษณุ ทองเลิศ, “นวัตกรรมการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในสถานศึกษาอาชีวศึกษา”, หลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต,สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2555.

สุทธิรักษ์ ทัศบุตรม, การบริหารการศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา, หลักสูตร ครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 2564.

มนตรี สุขชุม และคณะ. “การพัฒนารูปแบบการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ประเภทช่างอุตสาหกรรม สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา”. วารสารนวัตกรรมการจัดการศึกษาและวิจัย, ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 , หน้า 233-240, 2566.

วิชัย มันจันดา, “การบริหารการศึกษา ระบบทวิภาคีของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จังหวัดพะเยา”, หลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต,สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยพะเยา, 2562.

จิดาภา ถิรศิริกุล, “การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในประเทศต่าง ๆ : คุณลักษณะร่วมและปัจจัยแห่งความสำเร็จ”, สาขาวิชาการจัดการ.มหาวิทยาลัยสยาม. 2559.

เบญจวรรณ ศรีคำนวล และคณะ, “ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของสถานศึกษาในจังหวัดลำปาง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา”. วารสาร Veridian E Journal สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, ปีที่ 10 ,ฉบับที่ 2, หน้า 2535-2548 , 2560.