สภาพความเป็นจริงกับความคาดหวังของครูเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของโรงเรียน ประถมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 5 จังหวัดเชียงใหม

Main Article Content

รัตติยา วรกานต์ตระกูล

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบสภาพความเป็นจริงกับความคาดหวังของครู เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของโรงเรียนประถมศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 5 จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ ครูของโรงเรียนประถมศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 5 จังหวัดเชียงใหม่ จ านวน 274 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วน ประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน การทดสอบ t-test ผลการวิจัยพบว่า สภาพความเป็นจริงการบริหารงานบุคคลโรงเรียนประถมศึกษา โดยรวมทั้ง 6 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านงานเลื่อนขั้นเงินเดือน ข้าราชการ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ าสุด คือ ด้านงานพัฒนาบุคลากร ส่วนความคาดหวังการบริหารงานบุคคล โรงเรียนประถมศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้าน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด ได้แก่ ด้านงานเลื่อนขั้นเงินเดือนข้าราชการ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ าสุด คือ ด้านงานวางแผนอัตราก าลังและก าหนด ต าแหน่ง ผลการเปรียบเทียบสภาพความเป็นจริงกับความคาดหวังเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของโรงเรียน ประถมศึกษา มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ .05

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ไกศิษฏ์ เปลรินทร์. การพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้น าทางวิชาการส าหรับผู้บริหารสถานศึกษาขนั้พื้นฐาน. วิทยานพินธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลยัขอนแก่น, 2552. บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สุวีริยาศาสน์, 2545. รุ่ง แก้วแดง. ปฏิวัติการศึกษาไทย. พิมพครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : มติชน, 2544. ศิริพร กุลสานต์. รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้น าครูในการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรดุษฎีบัณฑติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 2557. ฤทัยทรัพย์ ดอกค า. รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้น าของผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กที่ส่งผลตอ่ประสิทธิผล โรงเรียน. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 2553.
244 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

233


วรเทพ ภูมิภักดีพรรณ. รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้น าเหนือผู้น าของผู้บริหารโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน. วิทยานพินธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา, 2550. วัฒนา สุวรรณไตรย์และประยูร บุญใช้. การพัฒนารูปแบบกิจกรรมพัฒนาจริยธรรมของนักศึกษาหลักสูตร ครูศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร 5 ปี). รายงานการวิจยัฉบับสมบูรณ์กรุงเทพฯ : การสนับสนุนทุน จากศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน), 2550. อาภารัตน์ ราชพัฒน์. การพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้น าของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. ปริญญานิพนธ์ปรชัญา ดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2554. Krejcie, R. V. and Morgan D. W. “Determining Sample Size for Research Activities,” Educational and Psychological Measurement. 30,3(March 1970) : 608-609. Leithwood and Jantzi. Change Leadership for Changing Times. Philadelphia : Open University, 1990. Leithwood and Jantzi. Change Leadership for Changing Times. Philadelphia : Open University, 1990. Pellicer, L. O. and Anderson, L. W. A Handbook for Teacher Leaders. Thousand Oaks, CA : Corwin, 1995.