ทัศนคติและการรับรู้ความเสี่ยงที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับ การใช้ E-Payment ผ่านธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) ในเขตกรุงเทพมหานคร

ทัศนคติและการรับรู้ความเสี่ยงที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับ การใช้ E-Payment ผ่านธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) ในเขตกรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • ชไมพร ขนาบแก้ว คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  • กนกพร ชัยประสิทธิ์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

คำสำคัญ:

ทัศนคติ, การรับรู้ความเสี่ยง, การยอมรับ E-Payment

บทคัดย่อ

การค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยส่วน บุคคลที่แตกต่างกันต่อการยอมรับการใช้ E-payment ผ่านธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) ในเขตกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัย ทัศนคติและการรับรู้ความเสี่ยงที่มีผลต่อการยอมรับการใช้ E-payment ผ่าน ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) ในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ลูกค้าของธนาคารทหารไทย จ ากัด (มหาชน) ในเขตกรุงเทพมหานคร จำ นวน 400 ตัวอย่าง โดยใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลปฐมภูมิ และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย สถิติ ที่ใช้คือ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ ทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติ independent samples t-test, One-Way ANOVA และ ค่าสหสัมพันธ์แบบ (multiple regression analysis) ที่ระดับ นัยสำคัญ .05 ผลการวิจัย พบว่า บุคคลที่มี อายุ ระดับการศึกษา รายได้ที่แตกต่างกันมี ทัศนคติต่อการยอมรับการใช้ E-payment ผ่านธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) ในเขตกรุงเทพมหานคร ที่แตกต่างกัน ปัจจัยทัศนคติและปัจจัยการ รับรู้ความเสี่ยง มีผลต่อการยอมรับการใช้ E-payment ผ่านธนาคารทหาร ไทย จ ากัด (มหาชน) ในเขตกรุงเทพมหานคร ในเชิงบวก อย่างมีนัยส าคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 

Author Biography

ชไมพร ขนาบแก้ว, คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

คณะบริหารธุรกจิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรีาชมงคลธัญบุรี

References

จิญาดา แก้วแทน. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใชบ้ริการชำระ เงินทางอิเล็กทรอนิสก์ ผ่านอุปกรณ์สมาร์ตโฟน: กรณีศึกษา ใน พื้นที่กรุงเทพมหานครและปทุมธานี. ค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ชลธิชา ศรีแสง. (2556). การยอมรับการใช้งานของระบบชำระเงินทาง อิเล็กทรอนิกส์กรณีศึกษาธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำ กัด(มหาชน). ค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต วทิยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ชวิศา พุ่มดนตรี. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการใชบ้ริการพร้อม เพย์ (PromptPay) ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล. ค้นควา้อิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ธนาคารทหารไทย จำ กัด (มหาชน). (2560). พลิกธุรกิจ ก้าวสู่เศรษฐกิจ ดิจิทัล 2017. กรุงเทพฯ: ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน).
ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน). (2561). บทสรุปผลประกอบการ. กรุงเทพฯ: ธนาคารทหารไทย จ ากัด (มหาชน).
ภัคจิรา นิลเกษม. (2556). ปัจจยัที่ส่งผลต่อการใชบ้ริการธนาคารบน อินเตอร์เน็ตของลูกค้าธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ในเขต อำเภอเมืองจังหวดัปทมุธานี. ค้นคว้าอสิระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
วิมลวรรณ สุวรรณรักษ์. (2559). การเปรียบเทยีบการยอมรบันวัตกรรมทาง การเงินของธนาคารเอกชนกบัธนาคารของรัฐในเขตกรุงเทพฯและ ปริมณฑล กรณีศึกษาธนาคารกรงุเทพ จำกัด (มหาชน) กับ ธนาคารกรุงไทย จา กัด(มหาชน). ค้นคว้าอิสระบริหารธุรกจิ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
อัญชฎา สายสนั่น ณ อยุธยา. (2558). การศึกษาความพึงพอใจของ ผู้ใช้บริการธนาคารออนไลน์ของประชากร ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล. ค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย กรุงเทพ. Black, K. (2006). Business Statistics for Contemporary DecisionMaking. (4th ed.). USA: John Wiley and Sons.
Cochran, W. G. (1997). Sampling Techniques. (3rd ed.). New York: John Wiley and Sons Inc.
Cronbach, L. J. (1990). Essentials of Psychological Testing. (5th ed.). New York: Harper Collins Publishers.
Pedhazur, E. J. (1997). Multiple Regression in Behavioral Research: Explanation and Prediction. (3rd ed.). Fort Worth, TX: Harcourt Brace Jovanovich.

Additional Files

เผยแพร่แล้ว

2019-06-30