อิทธิพลเชิงโครงสร้างของการใช้ทรัพยากรทางธุรกิจตามแนวคิด เศรษฐกิจสร้างสรรค์และกลยุทธ์เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ที่ส่งผลต่อความยั่งยืนของวิสาหกิจชมุชน ในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย
Structural Equation Modeling of Creative Economy Business Resources Utilization and Creative Economy Strategies Implementation toward the Sustainability of Northern Thai Community Based Enterprises
คำสำคัญ:
วิสาหกจิชุมชน เศรษฐกิจสรา้งสรรค์ กลยุทธ์เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ความยั่งยืนของวิสาหกิจชุมชนบทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลเชิงโครงสร้างของ การใช้ทรัพยากรทางธุรกิจตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์และกลยุทธ์ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ที่มีอิทธิพลต่อความยั่งยืนของวิสาหกิจชุมชนในเขต ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย โดยประชากรที่ศึกษา ได้แก่ ผู้ประกอบการ วิสาหกิจชุมชนในเขตภาคเหนือตอนบน 17 จังหวัด กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 558 ราย ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัยและ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม AMOS ผลการวิจัยพบว่า การใช้ทรัพยากรทางธุรกิจตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์มีอิทธิพล ทางตรงต่อกลยุทธ์เศรษฐกิจสร้างสรรค์มากที่สุด และยังมีอิทธิพลทางตรงต่อ ความยั่งยืนทางธุรกิจของวิสาหกิจชุมชน ในขณะเดียวกันกลยุทธ์เศรษฐกิจ สร้างสรรค์ก็มีอิทธิพลทางตรงต่อความยั่งยืนของวิสาหกิจชุมชนด้วยเช่นกัน การใช้ทรัพยากรด้านปัญญาของวิสาหกิจชุมชนมีอิทธิพลมากที่สุดต่อ กลยุทธ์เศรษฐกิจสร้างสรรค์และความยั่งยืนทางธุรกิจของวิสาหกิจชุมชน ภาคเหนือตอนบน รองลงมา ได้แก่ ทรัพยากรด้านการเงิน ทรัพยากรด้าน แรงงาน และทรัพยากรด้านกายภาพ ตามล าดับ ส่วนกลยุทธ์เศรษฐกิจสร้างสรรค์ พบว่า กลยุทธ์การผลิตที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลมากที่สุดต่อความยั่งยืนทางธุรกิจของวิสาหกิจชุมชน ภาคเหนือตอนบน รองลงมา ได้แก่ กลยุทธ์ด้านนวัตกรรม กลยุทธ์ด้าน การตลาด กลยุทธ์ด้านการสร้างพันธมิตร กลยุทธ์ด้านพนักงาน และกลยุทธ์ ด้านการสร้างความแตกต่าง ตามลำดับ
References
จิระนุช ชาญณรงค์กุล. (2559). การพัฒนาวิสาหกิจชมุชนต้นแบบ. สืบค้น เมื่อ 12 กุมภาพันธ ์2560 จาก https://ssnet.doae.go.th/wpcontent/uploads/2015/10/01_QR-codeการพัฒนาวิสาหกิจ ชุมชนต้นแบบ.pdf.
ทิวา แก้วเสริม. (2551). รายงานการวจิัยเรื่อง ปญัหาและความต้องการการ พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการผลิตภณัฑ์ชุมชน และท้องถิ่น (OTOP) จังหวัดเพชรบูรณ์. เพชรบูรณ์: มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบูรณ์. ธงพล พรหมสาขา ณ สกลนคร และอุทศิ สังขรัตน์. (2556). รายงานการวิจัย เรื่อง แนวทางการพัฒนาการด าเนินงานของ วิสาหกิจชุมชนในเขต ลุ่มทะเลสาบสงขลา. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
นิยม คำบุญทา และดราภรณ์ เดชพลมาตย์. (2550). รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพการดา เนินงานของวิสาหกิจชุมชน: กรณีศึกษาวิสาหกิจชมุชนผู้ผลิตผลิตภณัฑ์ประเภทอาหาร จังหวดั พระนครศรีอยุธยา. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลยัราชภัฏ พระนครศรีอยุธยา.
พิษณุ บุญนิยม และกล้าณรงค์ สุทธิรอด. (2561). การพัฒนาและส่งเสริม ศักยภาพวิสาหกิจชุมชนสู่เศรษฐกิจเชงิสร้างสรรค์ตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จังหวดัก าแพงเพชร พิจิตร และสุโขทัย. สืบค้นเมื่อ 12 กุมภาพันธ ์2561 จาก https://e-par.kpru.ac.th/epar/A1/A0005-3620500391873-201805111526053414.pdf.
ยุวนันท์ สันติทวีฤกษ์. (2555). รายงานการวิจัยเรื่อง แนวทางสู่ความส าเร็จ ของการประยุกต์ใช้ GHP: ผลิตภณัฑ์แคบหมูในจังหวัดเชยีงราย. เชียงราย: ส านักงานเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน.
สมฤทัย จิตภักดีบดินทร์. (2555). รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษาการน า มะนาวและวัสดุเหลือใช้จากมะนาวมาพัฒนาผลิตภัณฑ์ เครื่องส าอางและอาหารแปรรูป. สงขลา: สำนักงานเลขานกุาร คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน. สัญญา เคณาภูมิ. (2558). แนวทางการพัฒนาประสิทธิผลของวิสาหกิจชุมชน ในเขตพื้นที่ จังหวัดมหาสารคาม. วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธ ุ์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์, 2(3), 68-85.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกจิและสังคมแห่งชาติ. (2560). ส่วนที่ 2.1: ทุนทางเศรษฐกิจเพื่อการพัฒนาทยี่ั่งยืนในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10. สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2560 จาก https://www.nesdb.go.th/download/plan10/2_1.pdf.
สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน. (2557). ระบบ สารสนเทศวิสาหกิจชุมชน. สืบค้นเมื่อ 10 มกราคม 2561 จาก http://smce.doae.go.th/index.php.
สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน. (2560). การประเมินศักยภาพวิสาหกิจชุมชน. สืบค้นเมื่อ 10 มกราคม 2561 จาก http://www.sceb.doae.go.th/index_n2. html.
สุกัญญา ดวงอุปมา. (2557). แนวทางการพัฒนาศักยภาพการจัดการที่ดี ของ วิสาหกจิชุมชนในจังหวัดกาฬสินธ์. วารสารการพัฒนาชมุชนและ คุณภาพชีวติ, 2(2), 133-139.
สุชาติ จรประดิษฐ์. (2557). อิทธิพลของการใชแ้นวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ปัจจัยขบัเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์และคุณลักษณะของ ผู้ประกอบการที่มตี่อความส าเร็จทางการตลาดของสินค้าหนึ่ง ต าบลหนึ่งผลิตภณัฑ์ (โอทอป) ระดับ 5 ดาวในประเทศไทย. วิทยานพินธ์บริหารธุรกจิดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
สุนิษา กลิ่นขจร. (2558). การพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตภัณฑ์ลูก ประคบสมุนไพรบ้านเขานาใน ตา บลต้นยวน อำเภอพนม จังหวัด สุราษฏร์ธานี. Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สงัคมศาสตร์ และศิลปะ, 8(2), 2643-2655.
สุพาดา สิริกุตตา. (2557). กลยุทธ์เศรษฐกิจสร้างสรรค์ที่มีผลต่อความสา เร็จ ขององค์กรธุรกิจ: กรณีศึกษาผู้ประกอบการอุตสาหกรรมภาคกลาง ตอนบน. สืบค้นเมื่อ 8 เมษายน 2557 จาก http://kasetsart journal.ku.ac.th/kuj_files/2013/A1311251433136718.pdf.
อุสา สุทธิสาคร. (2555). การเรียนรู้และการจัดการความรู้ดา้นวิสาหกิจ ชุมชน ของชุมชนบา้นร่องก่อ ตำบลโพธิ์ใหญ่ อ าเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี. กรุงเทพฯ: มหาวทิยาลัยหอการค้าไทย.
Barbier, E. B. (1987). The Concept of Sustainable Economic Development: Environment Conservation. Environmental Conservation, 14(2), 101-110.
Barney, J. B. (1991). Firm Resources and Sustained Competitive Advantage, Journal of Management, 17(1), 99-121.
Comrey, A. L. & Lee, H. B. (1992). A First Course in Factor Analysis. (2nd ed.). New Jersey: Lawrence Erlbaum.
Hoelter, J. W. (1983). The Analysis of Covariance Structure: Goodness-of-Fit Indices. Sociological Method and Research, 11(3), 325-344.
Hoyle, R. H. (1995). Structural Equation Modeling: Concepts, Fundamental Issues and Applications. California: Sage Publications.
Kline, R. B. (2005). Principles and Practice of Structural Equation Modeling. New York: The Guilford Press.
Schumacker, R., Lomax, E. & Richard, G. (2004). A Beginner’s Guide to Structural Equation Modeling. New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates.
Schumpeter, J. A. (1934). The Theory of Economic Development: An Inquiry into Profit, Capital, Credit, Interest and the Business Cycle. Massachusetts: Harvard University Press.
Additional Files
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร เป็นงานเขียนของนักวิจัยหรือนักวิชาการแต่ละท่านโดยเฉพาะ มิใช่ความเห็นและความรับผิดชอบใดๆ ของกองบรรณาธิการวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารฯ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องทำการอ้างอิงมายังวารสาร