แนวทางการมีส่วนร่วมในการบรรเทาปัญหาการใช้น้ำในชุมชน บ้านสง่างาม ตำบลสะแกซำ อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์

ผู้แต่ง

  • ทศพร แก้วขวัญไกร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
  • สุรศักดิ์ พลเยี่ยม คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
  • ปนัดดา อาญาเมือง คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
  • พิชญาธิดา เรืองรัมย์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

บทคัดย่อ

The objectives of this research were 1) to study the basic context of the Baan SangaNgam community, 2) to study the participation in the mitigation of water use problems in the Baan SangaNgam community and 3) to find the ways to participate in the mitigation of the water use problems in the Baan SangaNgam community, Moo 15, Sakae Sam Subdistrict, Mueang District, Buriram Province. The sample used in this research was 137 people. Systematic sampling by means of the research tool was a quantitative research. The results showed that 1) the basic context of the dignified home community was male more than female, aged 45-55 years, most of them employed in general and engaged in farming as an additional occupation, and water sources use natural water as the main. 2) Participation in mitigation of water use problems were involved in every step, but the least involvement is the evaluation and monitoring of the project implementation. 3) Participation guidelines for building a community platform to clarify the operations and have representatives to be part of plan, do, check and act for solving the mitigation of water use problems in the Baan SangaNgam community.

Author Biographies

ทศพร แก้วขวัญไกร, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

Faculty of Management Science, Buriram Rajabhat University

สุรศักดิ์ พลเยี่ยม, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

ปนัดดา อาญาเมือง, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

พิชญาธิดา เรืองรัมย์, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

References

ฐกร กาญจน์จิรเดช มยุรี รัตนเสริมพงศ์ และสมบูรณ์ สุขสำราญ. (2561). รูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนใน
การบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืนของจังหวัดอุทัยธานี ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง.
วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 6(2), 537-552.
ทศพร แก้วขวัญไกร. (2561). การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบความอยู่รอดการจัดการกลุ่มชุมชนทอผ้าไหม อำเภอบ้านด่าน จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารเศรษฐศาสตร์และกลยุทธ์การจัดการ, 5(2), 67-85.
ประคอง สุคนธจิตต์ สุนันทา งานเดโช และดาวพันธ์ เฉลยพงษ์. (2561). การมีส่วนร่วมของประชาชนเกี่ยวกับ
การบริหารจัดการเศรษฐกิจชุมชน. วารสารร่มพฤกษ์, 36(1), 182-200.
สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ. (2562). คลังข้อมูลน้ำและภูมิอากาศแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2561จาก https://www.thaiwater.net /current/2020/drought2019/rain_yearly.html.
สำนักข่าวแนวหน้า. (2562). แล้งหนักอ่างเก็บน้ำ 2 แห่ง “บุรีรัมย์ ผลิตประปาได้อีกไม่ถึง 100 วัน.
สืบค้นเมื่อ 8 ธันวาคม 2562 จาก https://www.naewna.com/local/460969.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). การจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564). สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2561 จาก www.nesdb.go.th.
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2562). ฐานข้อมูลเพื่อการรายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2561 จากhttp://www.onep.go.th/
env_data/2019/40.
สิน พันธุ์พินิจ. (2553). เทคนิคการวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์.
สุฑาทิพย์ อิงบุญ. (2556). การมีส่วนร่วมของเกษตรการที่มีต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ ในตำบลบางเสาธง อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารวิทยบริการ, 24(1), 1-11.
สุธรรมา จันทรา. (2556). การมีส่วนร่วมของเกษตรกรในการจัดการทรัพยากรน้ำจากโครงการชลประทานแม่น้ำชี กรณีศึกษาโครงการสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าบ้านกุดแข้ จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารวิทยบริการ, 24(1),
72-83.
องค์การบริหารส่วนตำบลสะแกซำ. (2562). ข้อมูลพื้นฐานองค์การบริหารส่วนตำบลสะแกซำ. สืบค้นเมื่อ 3 ตุลาคม 2561 จาก https://sites.google.com/site/sakaesumorg/home/khxmul-phun-than.
Deming, W. E. (1986). Out of the Crisis. Massachusetts: Massachusetts Institute of Technology.
Rovinelli, R. J. & Hambleton, R. K. (1977). On the Use of Content Specialists in the Assessment of Criterion-Referenced Test Item Validity. Dutch Journal of Educational Research, 2(1), 49-60.
Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. (3rd ed.). New York: Harper and Row Publications.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-29