การปฏิบัติทางการบัญชีที่ดีกับคุณภาพรายงานการเงินของสถานประกอบการ ในอุตสาหกรรมเซรามิกภาคเหนือตอนบน

ผู้แต่ง

  • สุพรรณี คำวาส

คำสำคัญ:

การปฏิบัติทางการบัญชีที่ดี, คุณภาพของรายงานการเงิน, สถานประกอบการเซรามิก

บทคัดย่อ

           งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติทางการบัญชีที่ดีกับคุณภาพรายงานการเงินของสถานประกอบการในอุตสาหกรรมเซรามิกภาคเหนือตอนบน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามส่งผ่านระบบออนไลน์และระบบไปรษณีย์ไปยังสถานประกอบการในอุตสาหกรรมเซรามิกภาคเหนือตอนบน 224 แห่ง ได้รับกลับคืนมาจำนวน 83 แห่ง และใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยแบบพหุคูณ

            ผลการวิจัยพบว่า การปฏิบัติทางการบัญชีที่ดีด้านการมีระบบบริหารจัดการเอกสารทางบัญชี
ด้านกระบวนการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ ด้านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีกับงานด้านบัญชี และด้านกระบวนการควบคุมภายในเรื่องการปฏิบัติงานทางการบัญชีมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อคุณภาพรายงานทางการเงิน ผลการวิจัยแสดงให้เห็นถึงการใช้ประโยชน์จากรายงานทางการเงินเพื่อประกอบการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ ดังนั้นผู้ประกอบการเซรามิกควรให้ความสำคัญกับการปฏิบัติทางการบัญชีที่ดีอันส่งผลให้รายงานทางการเงินของกิจการมีคุณภาพและนำไปใช้ประโยชน์ได้ตามประสงค์ 

Author Biography

สุพรรณี คำวาส

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

References

กรมวิทยาศาสตร์บริการ. (2559). การพัฒนาผลิตภัณฑ์เซรามิก. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2564 จาก http://otop.dss.go.th/index.php/en/knowledge/informationrepack/359-2020-01-24-08-42-46?showall=1&limitstart=.

กัญญนันทน์ บันลือทรัพย์ และคณะ. (2561). ผลกระทบจากความเป็นมืออาชีพทางการบัญชีที่มีต่อผลการปฏิบัติงานของนักบัญชีในสถานศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาแห่งประเทศไทย. Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences. 2(2), 46-59.

เฉวียง วงค์จินดา และวรพรรณ รัตนทรงธรรม. (2563). ความฉลาดทางอารมณ์ ความพึงพอใจในงานและความสำเร็จในงานของนักบัญชีบริหารบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เอ็มเอไอของประเทศไทย. วารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 7(1), 15-24.

ชนิดา จันทนฤมาน พัทธนันท์ เพชรเชิดชู และศิริเดช คำสุพรหม. (2563). คุณภาพของข้อมูลทางบัญชีด้าน

ความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจและต้นทุนของเงินทุน: บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ และ ดัชนี SET 100. วารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 7(2), 149-162.

ชุตินันท์ ผดาจิตร. (2559). ผลกระทบของการควบคุมภายในสมัยใหม่ที่มีต่อประสิทธิผลองค์กรของธุรกิจเครื่องดื่มในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ถาวร พรามไทย. (2558). ผลกระทบของการติดตามประเมินผลการควบคุมภายในที่มีต่อคุณภาพข้อมูลทางการบัญชีของสถานศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ธารินี เณรวงค์. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อระดับการควบคุมภายในระบบสารสนเทศทางการบัญชีภายใต้การบริหารงานการเงินการคลังภาครัฐของหน่วยงานสนับสนุนภารกิจฝ่ายการเมือง. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย (สสวท), 4(1), 76-91.

นุชจรินทร์ โลหะปาน กรไชย พรลภัสรชกร และศรัญญา รักสงฆ (2561). คุณภาพระบบสารสนเทศทางการบัญชีกับการบรรลุเป้าหมายของธุรกิจ: หลักฐานเชิง ประจักษ์จากธุรกิจ SMEs ประเภทชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย. International (Humanities, Social Sciences and Arts), 11(4), 538-560.

นิตยา คำมณี. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างศักยภาพด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางการบัญชีเชิงกลยุทธ์กับประสิทธิภาพรายงานทางการเงินของสหกรณ์ออมทรัพย์ในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

แผนพัฒนาจังหวัดลำปางฉบับทบทวน 2564, จำนวนสถานประกอบการเซรามิก. สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2564 จาก http://www.lampang.go.th/strategy/2563/img61_65-r2.pdf.

ไมตรี เธียรวรรณ, จุลสุชดา ศิริสม และพงศธร ตันตระบัณฑิตย์. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างการวางระบบบัญชีที่ดีกับคุณภาพข้อมูลทางการบัญชีของธุรกิจเครื่องดื่มในประเทศไทย. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคราม, 12(2), 161-173.

ศูนย์วิจัยและพัฒนาวัสดุอุตสาหกรรมสร้างสรรค์, จำนวนสถานประกอบการเซรามิก. สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2564 จาก https://cim.dip.go.th/th.

สกลพร พิบูลย์วงศ์. (2554). รายงานการวิจัยเรื่อง ความคิดเห็นของนักบัญชีบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ทางเลือกเพื่อการลงทุน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์.

สภาวิชาชีพบัญชีในพระราชูปถัมภ์. (2563). กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน ปี 2563. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2564 จาก http://www.tfac.or.th/Home/Main.

สิริกาญจน์ วงษ์เสรี และ สุรีย์ โบษกรณัฏ. (2559). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชีสถาบันการเงินเฉพาะกิจ. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 5(3), 269-282.

สุภาพร แช่มช้อย. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อแนวทางปฏิบัติงานบัญชีของนักบัญชีไทย. วารสารวิชาการศรีปทุมชลบุรี, 3(10). 73-80.

หทัยรัตน์ คำฝั้น และจีราภรณ์ พงศ์พันธุ์พัฒนะ. (2560). วิสัยทัศน์ทางบัญชีที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานด้านบัญชีของธุรกิจโรงแรมในเขตภาคเหนือของประเทศไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 11(2), 135-146.

อรธีรา สายเจริญ. (2558). ผลกระทบของการควบคุมภายในเชิงรุกที่มีต่อคุณภาพข้อมูลทางการบัญชีของธุรกิจผลิตภัณฑ์ยางในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

อรอุมา สุวรรณ. (2562). ปัจจัยความเป็นมืออาชีพของนักบัญชีที่มีผลกระทบต่อคุณภาพงบการเงินของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในภาคตะวันออก. ดวงสมร รุ่งสวรรค์โพธิ์. การประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 3 “Graduate School Conference 2019” (484-490). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

อรอุษา ด้วงช้าง และประเวศ เพ็ญวุฒิกุล. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อศักยภาพการปฏิบัติงานทางการบัญชีของ

ผู้ทำบัญชี ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 12(28), 223-230.

Aaker, D. A. Kumar V., & Day, G. S. (2001). Marketing Research. New York: John Wiley & Sons.

Agbejule. (2012). The Relationship between Accounting Systems Management and Perceived Environmental Uncertainty on Managerial Performance. Accounting and Business Research. Journal Research in Business, 35(4), 111-132.

Black, K. (2006). Business statistics for contemporary decision marking. (4th ed.). USA: John wiley & Sons.

Bubaker, S. (2016). Accounting Systems in Developing Countries. Journal of Business and Economic Policy, 3(1), 132-142.

Chaitwong, N. (2010). Factors Affecting Need of Knowledge Development in Accounting for the Accountants Cooperatives in Changwat Unthaitanee. Master of Accounting. Sripatum University.

Hakansson, H. & Lind, J. (2004). Accounting and Network Coordination. Accounting Organizations and Society, 29, 51-72.

Metais, E. Overman, L. E. Rodriguez, M. I., et al. (1997). Halide-Terminated N-Acyliminium Ion−Alkyne Cyclizations: A New Construction of Carbacephem Antibiotics.

The Journal of Organic Chemistry, 62(26), 9210-9216.

Nunnally, J. C (1978). Psychometric theory. New York: Mcgraw-Hill.

Palmer, C. A. Lyons, P. C. Brown, Z. A. et al. (1990). The Use of Rare Earth and Trace Element Concentrations in Vitrinite Concentrates and Companion Whole Coals (hvA bituminous) to Determine Organic and Inorganic Associations. Recent Advances in Coal Geochemistry, Geological Society of America, Special Paper, 248, 55-63.

Quattrone, P. (2009). Books to be Practiced: Memory, the Power of the Visual, and The Success of Accounting, Accounting, Organizations and Society, 34. 85-118.

Robert W. S. and Mostafa, J. (2010). Accounting System Design: Comprehensive Enterprise Resource Planning Business.

Romney. (2018). Accounting Information Systems. USA: Courier Kendallville in The United States States of America.

Smith, L. M. (2008). Acceptance of Emerging Technologies for Corporate Accounting and Business Tasks: An International Comparison. Advances in Accounting Incorporating Advances in International Accounting, 24(2), 250-261.

Xiao, Z. Z. Dyson, J. R. & Powell, P. L. (1996). The Impact of Information Technology on Corporate Financial Reporting: A Contingency Perspective. British Accounting Review, 28, 203-227.

Yamketh, W, (2015). A Study of Factors Affecting Self-Development of Employees in Retail Banking at a Private Bank. Master of Business Administration, Bangkok University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-30