ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนผ่านระบบงบประมาณไทย

Main Article Content

ศิกานต์ อิสสระชัยยศ

บทคัดย่อ

งบประมาณแผ่นดินเป็นเครื่องมือสำคัญที่รัฐบาลใช้ในการบริหารจัดการและดำเนินนโยบายต่าง ๆ ของภาครัฐผ่านการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้กับหน่วยงานต่าง ๆ การจัดทำงบประมาณในแต่ละประเทศมีหลากหลายรูปแบบซึ่งการที่รัฐจะใช้ระบบงบประมาณรูปแบบใดนั้นขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ไม่ว่าจะเป็นระบบโครงสร้างการปกครอง ประวัติศาสตร์ ระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ รวมทั้งรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ ในอดีตการจัดทำงบประมาณรายจ่ายเป็นไปอย่างเรียบง่าย ไม่มีความสลับซับซ้อน และมีเป้าหมายสำคัญเพื่อการควบคุมการใช้จ่ายเงินของภาครัฐ หลังจากนั้นแต่ละประเทศได้มีการพัฒนารูปแบบหรือปฏิรูประบบการจัดทำงบประมาณรายจ่ายให้มีความสลับซับซ้อนมากยิ่งขึ้นโดยมุ่งเน้นการใช้ประโยชน์ในด้านอื่น ๆ ของระบบงบประมาณด้วย เช่น การบริหารจัดการทรัพยากร การตัดสินใจ การวางแผนงาน และการประเมินผลงานหลังจากการใช้จ่ายงบประมาณ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการใช้จ่ายงบประมาณมากยิ่งขึ้น


งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) ที่ผู้เขียนให้ความสนใจศึกษาวิวัฒนาการของระบบงบประมาณในประเทศไทยตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบันและปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนผ่านระบบงบประมาณในแต่ละช่วงเวลา งานวิจัยนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพประกอบด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร (Documentary research) พร้อมทั้งการศึกษาด้วยวิธีการติดตามกระบวนการ (Process tracing method) เพื่อแกะรอย ติดตามกลไกเชิงสาเหตุ และวิเคราะห์ข้อมูลภายในกรณี (Within-case analysis) จากหลักฐานทางเอกสารต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ ผลการศึกษาพบว่า การจัดทำระบบงบประมาณครั้งแรกของประเทศไทยเริ่มขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งยังปกครองด้วยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ก่อนที่จะเปลี่ยนระบอบการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตย พร้อมกับการใช้ระบบงบประมาณแบบแสดงรายการเป็นรูปแบบแรก จนวิวัฒนาการมาเป็นระบบงบประมาณแบบแผนงาน ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน และระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ที่ใช้ในปัจจุบัน โดยมีปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนผ่านระบบงบประมาณไทยในแต่ละช่วงเวลา ประกอบด้วย (1) ปัจจัยทางด้านการเมือง (2) ปัจจัยทางด้านองค์การและการบริหารราชการของประเทศ (3) ปัจจัยทางด้านอิทธิพลจากต่างประเทศ และ (4) ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ

Article Details

บท
Articles

References

John R. Bartle, Evolving Theroies of Public Budgeting, (New York: Emerald Group Publishing Limited, 2001), 3.

V. O. Key, “The lack of a budgetary theory,” The American Political Science Review, Vol. 34, No. 6 (December 1940), 1137.; Robert D. Lee, JR., Ronald W. Johnson, and Philip G. Joyce, Public budgeting systems, 8th ed., (Sudbury, MA: Jones and Bartlett Publishers, 2008), 17.; R. Mark Musell, Understanding government budgets: A practical guide, (New York, NY: Routledge, 2009), 1.

V. O. Key, The lack of a budgetary theory, Cited, 1138.

ณัฐพัชร์ สถิตพรธนชัย, การคลังสาธารณะ, (กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท จำกัด, 2553), 206.

Allen Schick, “The road to PPB: The stages of budget reform,” Public Administration Review, Vol. 26, No. 4 (December 1966), 243-258.

งานวิจัยฉบับนี้ได้ผ่านการพิจารณารับรองว่าเป็นโครงร่างการวิจัยที่ไม่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมการวิจัยในคน

Derek Beach and Rasmus Brun Pedersen, Process-Tracing Methods: Foundations and Guidelines, (U.S.A.: The University of Michigan Press, 2013), 2.; David Collier, “Understanding process tracing,” Political Science and Politics, Vol. 44, No. 4 (October 2011), 823.

Ibid., 823-824.

Allen Schick, The road to PPB: The stages of budget reform, Cited, 245.

Nicholas Henry, Public Administration and Public Affairs, (New Jersey: Prentice Hall, 1980), 259.

Charlie Tyer and Jennifer Willand, “Public Budgeting in America: A Twentieth Century Retrospective,” Journal of Public Budgeting, Accounting & Financial Management, Vol. 9, No. 2 (March 1997), 194.

Allen Schick, The road to PPB: The stages of budget reform, Cited, 246.

Ron Carlee, “Budgeting for Local Governments in the United States: Deciding Who Gets What, How Much, and Who Pays?,” Journal of the Washington Institute of China Studies, Vol. 3., No. 3 (Fall 2008), 109.

Helene Barroy, Elina Dale, Susan Sparkes, and Joe Kutzin, Budget matters for health: key formulation and classification issues, (Switzerland: World Health Organization, 2018), 9.; Ulla K Griffiths, Jennifer Asman, Alex Adjagba, Marina Yo, James O Oguta, and Chloe Cho, “Budget line items for immunization in 33 African countries,” Health Policy and Planning, Vol. 35, No. 7 (May 2020), 753.

Allen Schick, The road to PPB: The stages of budget reform, Cited, 247.

เกริกเกียรติ พิพัฒน์เสรีธรรม, การคลังว่าด้วยการจัดสรรและการกระจาย, (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2552), 533.

Allen Schick, The road to PPB: The stages of budget reform, Cited, 249.

Ibid., 250.; พัลลภ ศักดิ์โสภณกุล, วิวัฒนาการกฎหมายวิธีการงบประมาณและการปฏิรูประบบงบประมาณของประเทศไทย, (กรุงเทพฯ: บริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด, 2547), 10.

Jesse Burkhead, Government Budgeting, (New York: Harper & Row, 1956), 133.

Allen Schick, The road to PPB: The stages of budget reform, Cited, 250.

Mukdad Ibrahim, “Comparative Budgetary Approaches in Public Organizations,” Research Journal of Finance and Accounting, Vol. 4, No. 15 (October 2013), 92.

Allen Schick, The road to PPB: The stages of budget reform, Cited, 253.

Ibid., 253-255.

Mukdad Ibrahim, Comparative Budgetary Approaches in Public Organizations, Cited, 91-92.

John L. Mikesell, Fiscal administration: Analysis and applications in the public sector, 8th ed., (Boston, MA: Wadsworth, 2010), 246.; Mukdad Ibrahim, Comparative Budgetary Approaches in Public Organizations, Cited, 92.; ไตรรัตน์ โภคพลากรณ์, การบริหารการคลังและงบประมาณ: แนวคิดและทฤษฎี, (กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด ภาพพิมพ์, 2556), 134.

Allen Schick, The road to PPB: The stages of budget reform.

Mukdad Ibrahim, Comparative Budgetary Approaches in Public Organizations, Cited, 93.

พัลลภ ศักดิ์โสภณกุล, วิวัฒนาการกฎหมายวิธีการงบประมาณและการปฏิรูประบบงบประมาณของประเทศไทย, อ้างแล้ว, 13.

John L. Mikesell, Fiscal administration: Analysis and applications in the public sector, Cited, 249-250.; Mukdad Ibrahim, Comparative Budgetary Approaches in Public Organizations, Cited, 94.

Aleksandra Maksimovska and Aleksandar Stojkov, “Performance-Based Budgeting in South-Eastern Europe: A Legal and Economic Perspective,” Central European Journal of Public Policy, Vol. 8, No. 1 (July 2014), 53.

Ibid., 51-53.

Ibid., 54-55.

Ibid., 54-58.

Deloitte Touche Tohmatsu Limited, Zero-Based Budgeting: Zero or Hero?, (United Kingdom: Deloitte Touche Tohmatsu Limited, 2015), 2.

พัลลภ ศักดิ์โสภณกุล, วิวัฒนาการกฎหมายวิธีการงบประมาณและการปฏิรูประบบงบประมาณของประเทศไทย, อ้างแล้ว, 17.; Mukdad Ibrahim, Comparative Budgetary Approaches in Public Organizations, Cited, 95.; เกริกเกียรติ พิพัฒน์เสรีธรรม, การคลังว่าด้วยการจัดสรรและการกระจาย, อ้างแล้ว, 535.

Mukdad Ibrahim, Comparative Budgetary Approaches in Public Organizations, Cited, 96-97.

สำนักงบประมาณ (Bureau of the Budget) ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อมาเป็น “สำนักงานบริหารจัดการงบประมาณ” (Office of Management and Budget (OMB)) อ้างใน Jón R. Blöndal, Dirk-Jan Kraan, and Michael Ruffner, “Budgeting in the United States,” Journal on Budgeting, Vol. 3, No. 2 (November 2003), 8.

Ibid., 8.

Pettijohn, Carole D and Gloria A Grizzle, “Structural Budget Reform: Does It Affect Budget Deliberations,” Journal of Public Budgeting, Accounting & Financial Management, Vol. 9, No. 1 (November 1997), 26.

Allen Schick, The road to PPB: The stages of budget reform, Cited, 243.

Jón R. Blöndal, Dirk-Jan Kraan, and Michael Ruffner, Budgeting in the United States, Cited, 31.; Jack Diamond, From Program to Performance Budgeting: The Challenge for Emerging Market Economies, (Washington D.C.: International Monetary Fund, 2003), 6.

Jón R. Blöndal, Dirk-Jan Kraan, and Michael Ruffner, Budgeting in the United States, Cited, 8.

Peter A. Pyhrr, “The zero-Base Approach to Government Budgeting,” Public Administration Review, Vol. 37, No. 1 (February 1977), 1.

Deloitte Touche Tohmatsu Limited, Zero-Based Budgeting: Zero or Hero?, Cited, 2.

Jón R. Blöndal, Dirk-Jan Kraan, and Michael Ruffner, Budgeting in the United States, Cited, 13 and 27.

Ibid., 35.

Bram Scheers, Miekatrien Sterck, and Geert Bouckaert, “Lessons from Australian and British Reforms in Results oriented Financial Management,” OECD Journal on Budgeting, Vol. 5, No. 2 (February 2006), 135.; Jón R. Blöndal, Daniel Bergvall, Ian Hawkesworth, and Rex Deighton-Smith, “Budgeting in Australia,” Journal on Budgeting, Vol. 8, No. 2 (September 2008), 7.

Ron Kluvers, “An Analysis of Introducing Program Budgeting in Local Government,” Public Budgeting & Finance, Vol. 21, No. 2 (December 2002), 33-34.

Bram Scheers, Miekatrien Sterck, and Geert Bouckaert, “Lessons from Australian and British Reforms in Results oriented Financial Management, Cited, 135-136.; Marc Robinson, “Financial Control in Australian Government Budgeting,” Discussion Paper. No. 87 (December 2002), 1.; Jón R. Blöndal, Daniel Bergvall, Ian Hawkesworth, and Rex Deighton-Smith, Budgeting in Australia, Cited, 7-8.

Jón R. Blöndal, Daniel Bergvall, Ian Hawkesworth, and Rex Deighton-Smith, Budgeting in Australia, Cited, 8.

Bram Scheers, Miekatrien Sterck, and Geert Bouckaert, “Lessons from Australian and British Reforms in Results oriented Financial Management, Cited, 136.

John M. Kim, “Introduction: The Transition to Program Budgeting,” in John M. Kim (ed.), From Line-item to Program Budgeting: Global Lessons and the Korean Case, (Seoul: Korean Institute of Public Finance, 2007), 20.; John M. Kim and Nowook Park, “Performance Budgeting in Korea,” OECD Journal on Budgeting, Vol. 7, No. 4 (April 2007), 2.

การบริหารและจัดทำงบประมาณแบบบนลงล่าง (Top-Down Budgeting) เป็นการกำหนดกรอบเพดานการใช้จ่ายให้กับกระทรวงและหน่วยงานต่าง ๆ ก่อนจัดทำเอกสารเพื่อเสนอของบประมาณประจำปี อ้างใน John M. Kim, William Dorotinsky, Feridoun Sarraf, and Allen Schick, “Paths Toward Successful Introduction of Program Budgeting in Korea,” in John M. Kim (ed.), From Line-item to Program Budgeting: Global Lessons and the Korean Case, (Seoul: Korean Institute of Public Finance, 2007), 35-36.

John M. Kim and Nowook Park, Performance Budgeting in Korea, Cited, 2.

Ibid., 3.; John M. Kim, Introduction: The Transition to Program Budgeting, Cited, 22.

John M. Kim, William Dorotinsky, Feridoun Sarraf, and Allen Schick, Paths Toward Successful Introduction of Program Budgeting in Korea, Cited, 85.

Ibid., 68.

สุทธาดา เลขไวฑูรย์, การใช้จ่ายเงินแผ่นดินในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2435 – 2453), (วิทยานิพนธ์, ภาควิชาประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525.

เพิ่งอ้าง, 18-21 และ 262-263.

เพิ่งอ้าง, 20 และ 262-263.

เพิ่งอ้าง, 263-264.

การพิจารณาเสนอของบประมาณที่แต่เดิมเจ้ากระทรวงส่วนใหญ่มักของบประมาณตามความจำเป็นเฉพาะหน้า จนเมื่อปี พ.ศ. 2452 กรมหมื่นจันทบุรีนฤนาถ เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ เสนอให้มีแผนการใช้จ่ายเงินระยะยาว และกำหนดโครงสร้างร้อยละหรือสัดส่วนการใช้จ่ายเงินแต่ละด้านในแต่ละปี เช่น งบประมาณรายจ่ายทั้งหมดถูกนำไปใช้เป็นงบประมาณใช้จ่ายเพื่อป้องกันประเทศ ร้อยละ 25 งบประมาณรักษาพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ร้อยละ 25 เป็นต้น แต่ท้ายสุดนโยบายดังกล่าวนี้ยังไม่ได้ถูกนำไปใช้ปฏิบัติ เพราะสิ้นรัชสมัยของรัชกาลที่ 5 เสียก่อน อ้างใน เพิ่งอ้าง, 46-50 และ 263.

พัลลภ ศักดิ์โสภณกุล, วิวัฒนาการกฎหมายวิธีการงบประมาณและการปฏิรูประบบงบประมาณของประเทศไทย, อ้างแล้ว, 29.

งบประมาณรายได้ ประกอบด้วยบัญชีต่าง ๆ ตามกฎกระทรวงการคลัง ได้แก่ หมวดภาษีอากร (ภาษีเงินได้, ภาษีสรรพสามิต, อากรแสตมป์ และอากรมรดก เป็นต้น)), หมวดค่าธรรมเนียม (ค่าธรรมเนียมอำเภอ และค่าธรรมเนียมเรือผ่านประตูน้ำ), หมวดผลประโยชน์ (รายได้จากเหมืองแร่, การรถไฟ, การไปรษณีย์โทรเลข, การไฟฟ้า และการประปา เป็นต้น อ้างใน เพิ่งอ้าง, 30.

งบประมาณรายจ่าย ประกอบด้วยบัญชีต่าง ๆ ตามกฎกระทรวงการคลัง ได้แก่ เงินเดือน (ตามตำแหน่งในกระทรวง ทบวง กรม), ค่าใช้สอยในแต่ละกระทรวง ทบวง กรม (ค่าจ้างและเบี้ยเลี้ยง, ค่าพัสดุ, ค่าบำรุงรักษาสถานที่ราชการ, ค่าใช้สอยเบ็ดเตล็ด, เงินอุดหนุน), การจร คือ รายจ่ายที่มีลักษณะพิเศษไม่เป็นการประจำ (การก่อสร้าง, การจัดซื้อ และการซ่อมแซมหรือทำเพิ่มเติม), รายจ่ายพิเศษ (จ่ายสร้างทางรถไฟ เป็นต้น) อ้างใน เพิ่งอ้าง, 31.

เพิ่งอ้าง, 33.; Allen Schick, The road to PPB: The stages of budget reform, Cited, 246.

พัลลภ ศักดิ์โสภณกุล, วิวัฒนาการกฎหมายวิธีการงบประมาณและการปฏิรูประบบงบประมาณของประเทศไทย, อ้างแล้ว, 34.

เพิ่งอ้าง, 35.; Sawanya Coompanthu, The Analysis Budgeting System Reform in Thailand, (Master’s thesis, KDI School of Public Policy and Management (KDIS), 2007).

Sawanya Coompanthu, The Analysis Budgeting System Reform in Thailand, Cited, 40.

Allen Schick, The road to PPB: The stages of budget reform.

สำนักงบประมาณ, งบประมาณโดยสังเขป ประจำปี 2525, (กรุงเทพฯ: สำนักงบประมาณ, 2525), 1.; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, ยุทธศาสตร์การจัดการงบประมาณจังหวัดในระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์, (ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาเอก, สาขาการจัดการภาครัฐ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต, 2552).

ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, ยุทธศาสตร์การจัดการงบประมาณจังหวัดในระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์, อ้างแล้ว, 70.; พิมพร โอวาสิทธิ์, ผลงานทางวิชาการเพื่อประเมินบุคคล เรื่อง บทบาทหน้าที่ของสำนักงบประมาณภายใต้แนวทางการปฏิรูปประเทศ, (กรุงเทพฯ: สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี, 2560), 6.

รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2540 ได้ขึ้นชื่อว่าเป็น “รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน”

Sawanya Coompanthu, The Analysis Budgeting System Reform in Thailand, Cited, 42.; นันทนิตย์ นวลมณี, เอกสารวิชาการหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมความพร้อมสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมาธิการ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของระบบงบประมาณ, (กรุงเทพฯ: สำนักกรรมาธิการ 1 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2560), 6.

สำนักงบประมาณ, การปรับปรุงระบบการจัดการงบประมาณ, (กรุงเทพฯ: สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี, 2544), 36.

รัฐบาลชวน หลีกภัย สมัยที่ 2 (พ.ศ. 2540 – 2543)

รัฐบาลทักษิณ ชินวัตร สมัยที่ 1 (พ.ศ. 2544 – 2548) และสมัยที่ 2 (พ.ศ. 2548 – 2549)

พัลลภ ศักดิ์โสภณกุล, วิวัฒนาการกฎหมายวิธีการงบประมาณและการปฏิรูประบบงบประมาณของประเทศไทย, อ้างแล้ว, 58.

นันทนิตย์ นวลมณี, เอกสารวิชาการหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมความพร้อมสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมาธิการ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของระบบงบประมาณ, อ้างแล้ว, 6-7.

Derek Beach and Rasmus Brun Pedersen, Process-Tracing Methods: Foundations and Guidelines, Cited, 17.

ไพศาล บรรจุสุวรรณ์, ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงงบประมาณทหารของไทยในสองทศวรรษ พ.ศ. 2543 – 2562, วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, ปีที่ 11, ฉบับที่ 1 (2563), 57.

สุทธาดา เลขไวฑูรย์, การใช้จ่ายเงินแผ่นดินในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2435 – 2453), อ้างแล้ว, 263-266; พัลลภ ศักดิ์โสภณกุล, วิวัฒนาการกฎหมายวิธีการงบประมาณและการปฏิรูประบบงบประมาณของประเทศไทย, อ้างแล้ว, 29-30.

เขมภัทร ทฤษฎิคุณ, “การจัดทำงบประมาณครั้งแรก ภายหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475,” สถาบันปรีดี พนมยงค์ (เว็บไซต์), https://pridi.or.th/th/content/2021/03/651 (สืบค้นเมื่อ 8 มกราคม 2565).

อรทัย ก๊กผล, ทบทวนแนวคิดและตัวแบบเกี่ยวกับระบบราชการ, เอกสารประกอบการบรรยาย คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2557).

นันทนิตย์ นวลมณี, เอกสารวิชาการหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมความพร้อมสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมาธิการ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของระบบงบประมาณ, อ้างแล้ว, 6.

ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์, การเมืองในกระบวนการกระจายอำนาจ: ศึกษาผ่านบทบาทของนักวิชาการ ข้าราชการ นักการเมือง และประชาชน, อ้างแล้ว, 77.

อรทัย ก๊กผล, พัฒนาการของระบบบริหารรัฐกิจไทย, เอกสารประกอบการบรรยาย คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2557).

สุทธาดา เลขไวฑูรย์, การใช้จ่ายเงินแผ่นดินในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2435 – 2453), อ้างแล้ว, 18-21 และ 262-263.

พัลลภ ศักดิ์โสภณกุล, วิวัฒนาการกฎหมายวิธีการงบประมาณและการปฏิรูประบบงบประมาณของประเทศไทย, อ้างแล้ว, 29.

เพิ่งอ้าง, 29.

อรทัย ก๊กผล, พัฒนาการของระบบบริหารรัฐกิจไทย.

Sawanya Coompanthu, The Analysis Budgeting System Reform in Thailand, Cited, 40.

อรทัย ก๊กผล, พัฒนาการของระบบบริหารรัฐกิจไทย.

อรทัย ก๊กผล, ทบทวนแนวคิดและตัวแบบเกี่ยวกับระบบราชการ.

สุทธาดา เลขไวฑูรย์, การใช้จ่ายเงินแผ่นดินในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2435 – 2453), อ้างแล้ว, 262-263.

พัลลภ ศักดิ์โสภณกุล, วิวัฒนาการกฎหมายวิธีการงบประมาณและการปฏิรูประบบงบประมาณของประเทศไทย, อ้างแล้ว, 34-35.

เสาวณี จันทะพงษ์ และนิธิสาร พงศ์ปิยะไพบูลย์, “20 ปีวิกฤตเศรษฐกิจ 2540: บทเรียนสู่เส้นทางเศรษฐกิจที่สมดุลและยั่งยืน,” Focused and Quick (FAQ) ธนาคารแห่งประเทศไทย, ปีที่ 115, (2560), 1-14.

สุทธาดา เลขไวฑูรย์, การใช้จ่ายเงินแผ่นดินในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2435 – 2453), อ้างแล้ว, 262.; พัลลภ ศักดิ์โสภณกุล, วิวัฒนาการกฎหมายวิธีการงบประมาณและการปฏิรูประบบงบประมาณของประเทศไทย, อ้างแล้ว, 29.

พัลลภ ศักดิ์โสภณกุล, วิวัฒนาการกฎหมายวิธีการงบประมาณและการปฏิรูประบบงบประมาณของประเทศไทย, อ้างแล้ว, 35.

John M. Kim, “Introduction: The Transition to Program Budgeting,” in John M. Kim (ed.), From Line-item to Program Budgeting: Global Lessons and the Korean Case, (Seoul: Korean Institute of Public Finance, 2007), 20.; John M. Kim and Nowook Park, “Performance Budgeting in Korea,” OECD Journal on Budgeting, Vol. 7, No. 4 (April 2007), 2.

Sawanya Coompanthu, The Analysis Budgeting System Reform in Thailand, Cited, 40.; John M. Kim, Introduction: The Transition to Program Budgeting, Cited, 20.

John M. Kim, William Dorotinsky, Feridoun Sarraf, and Allen Schick, Paths Toward Successful Introduction of Program Budgeting in Korea, Cited, 85.