ว่าด้วย “มโนสำนึกที่ผิด” ของนีทเชอ

Main Article Content

ชุติเดช เมธีชุติกุล

บทคัดย่อ

งานชิ้นนี้ต้องการจะศึกษาความคิดเรื่อง “bad conscience” หรือ “มโนสำนึกที่ผิด” ของ Nietzsche โดยจะวิเคราะห์ความเรียงชิ้นที่ 2 ชื่อว่า Guilt,” ““bad conscience”,” and the like ในหนังสือ On Genealogy of Morals: A Polemic ที่จะเผยให้เห็นลักษณะและที่มาที่ไปของมโนสำนึกที่ผิด โดยสรุปสำหรับความคิดเรื่องมโนสำนึกที่ผิดนั้นเป็นสภาะทางจิตใจที่แสดงให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจาการเก็บกด ปิดกั้น และกดขี่ทาสโดยผู้เป็นนายผ่านกระบวนการทางกายภาพและวัฒนธรรม จนทาสไม่สามารถที่จะแสดงตัวหรือแสดงเจตจำนงของตนออกมาในสังคมได้ จนถึงจุดหนึ่งมโนสำนึกที่ผิดจะปรากฏขึ้นและได้สั่นคลอนชุดการรับรู้ผิดชอบชั่วดีชุดเดิมและถือกำหนดเป็นชุดการรับรู้ผิดชอบชั่วดีขึ้นมาใหม่ หรือก็คือจากชุดศีลธรรมแบบผู้เป็นนายระหว่างดีและไม่ดีกลายเป็นชุดศีลธรรมแบบทาสระหว่างความดีและความชั่วร้าย อีกทั้งได้กลับคู่ความสัมพันธ์เสียใหม่ให้ผู้เป็นนายเป็นสิ่งชั่วร้ายและทาสเป็นสิ่งที่ดี

Article Details

บท
Articles
Author Biography

ชุติเดช เมธีชุติกุล, อาจารย์, ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

บทความชิ้นนี้ปรับมาจากบทความชื่อ “ ‘Bad Conscience’ กับหัวที่หายไปของโคลัมบัส: Nietzsche กับคุณูปการต่อการศึกษาอารมณ์กับการเมือง” สำหรับนำเสนอใน “งานสัมมนาวิชาการเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 19 ปีการศึกษา 2563” ในหัวข้อ “อยู่ กลืน กลาย” วันที่ 6 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2563 ณ ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

References

ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร, “อารมณ์กับประชาธิปไตยไทย,” ใน ประจักษ์ ก้องกีรติ (บก.), อดีต ปัจจุบัน และอนาคตประชาธิปไตยไทย, (กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับสำนักพิมพ์ศยาม, 2562), 57-76.

Ansell-Pearson, Keith, Nietzsche contra Rousseau: a study of Nietzsche’s moral and political thought, (Cambridge, UK: Cambridge University Press, 1991).

Ansell-Pearson, Keith, An Introduction to Nietzsche as Political Thinker: The Perfect Nihilist, (New York: Cambridge University Press, 1994).

Acampora, Christa Davis, “Nietzsche’s On the Genealogy of Morality: Moral Injury and Transformation,” in Tom Stern (ed.), The New Cambridge Companion to Nietzsche, (New York: Cambridge University Press, 2019), 222-246.

Butler, Judith, “Circuits of Bad Conscience: Nietzsche and Freud,” in Alan D. Schrift (ed.), Why Nietzsche Still?: Reflections on Drama, Culture, and Politics, (Berkeley: University of California Press, 2000), 121-135.

Cramer, Katherine J., The Politics of Resentment: Rural Consciousness in Wisconsin and the Rise of Scott Walker., (Chicago: The University of Chicago Press, 2016).

Deleuze, Gilles, Nietzsche and Philosophy, translated by Hugh Tomlinson, (New York: Columbia University Press, 2006).

Diethe, Carol, “Introduction: on Nietzsche's critique of morality,” in Friedrich Nietzsche, On Genealogy of Morals, translated by Carol Diethe, (New York: Cambridge University Press, 2006), xiii-xxix.

Elgat, Guy, Nietzsche’s psychology of ressentiment: revenge and justice in On the genealogy of morals, (New York: Routledge, 2017).

Guess, Raymond, “The Future of Evil,” in Simon way (ed.), Nietzsche's On the Genealogy of Morality: A Critical Guide, (Cambridge: Cambridge University Press, 2019), 204-217.

Hill, R. Kevin, Nietzsche: a Guide for the Perplexed, (London: Continuum, 2007).

Janaway, Christopher, “Guilt, bad conscience, and Self-punishment in Nietzsche’s Genealogy,” in Brian Leiter and Neil Sinhababu (eds.), Nietzsche and Morality, (New York: Oxford University Press, 2007), 138-154.

Leiter, Brian, Nietzsche on Morality, 2nd edition, (London: Routledge, 2015).

Nietzsche, Friedrich, Beyond Good And Evil, translated by Walter Kaufmann, (New York: Vintage, 1989).

Nietzsche, Friedrich, Ecce Homo and On Genealogy of Morals, translated by Walter Kaufmann and R. J. Hollingdale, (New York: Vintage, 1989).

Woodward, Ashley, Understanding Nietzscheanism, (Durham: Acumen Publishing, 2012).

กฤช มายา และวิโรจน์ อินทนนท์, "แนวคิดเรื่อง “อำนาจ” ของ เฟรดริช วิลเฮลม นิตเช่," วารสารปณิธาน, ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 (2561), 236-259

พุมรี อรรถรัฐเสถียร, "มองคานธีผ่าน “เจตจำนงที่จะมีอำนาจ” ตามทัศนะของนิทเชอ," วารสารภาษาและวัฒนธรรม, ปีที่ 35, ฉบับพิเศษ (2559), 81-96.

ธนุตม์ นันเพ็ญ และจารุณี วงศ์ละคร, "แนวคิดเรื่องมนุษย์ในนวนิยายชุดมาเฟียเลือดมังกร จากมุมมองของฟริดริค นิทเช," วารสารปณิธาน, ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 (2561), 210-235.

พระอธิวัฒน์ อชิโต, พระครูภาวนาโพธิคุณ และจรัส ลีกา, "การเปรียบเทียบมนุษย์ในทัศนะพุทธปรัชญาเถรวาทกับฟรีดริช นิตเช่," วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม, ปีที่ 9, ฉบับที่ 3 (2565), 211-221.

พระอธิวัฒน์ อชิโต, อนุสิทธิ์ ต้นโพธิ์, Soeurng Seam, สุวิน ทองปั้น และจรัส ลีกา, "การพัฒนามนุษย์ในทัศนะของนิตเช่," วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม, ปีที่ 9, ฉบับที่ 1 (2565), 139-148.

พิศาล มุกดารัศมี, "ฟรีดริศ นิทเช่ ว่าด้วยแนวคิดรัฐ และประชาธิปไตยสมัยใหม่," รัฐศาสตร์สาร, ปีที่ 21, ฉบับที่ 2 (2542), 185-217.

พิศาล มุกดารัศมี, "When Nietzsche Wept กำสรวลแห่งปรัชญาและชะตากรรมของนักปรัชญา," รัฐศาสตร์สาร, ปีที่ 22, ฉบับที่ 3 (2543), 309-341.

สุวิชา เป้าอารีย์, "ความเสมอภาค: แนวคิดและข้อถกเถียงเบื้องต้น," วารสารพัฒนาสังคม, ปีที่ 18, ฉบับพิเศษ (2559), 1-17.

อริย์ธัช เลิศอมรไชยกิจ, "ศึกษาวิเคราะห์แนวคิดอภิมนุษย์ของฟรีดริช นิทเช," วารสารพุทธมัคค์ ศูนย์วิจัยธรรมศึกษา สำนักเรียนวัดอาวุธวิกสิตาราม, ปีที่ 3, ฉบับที่ 2 (2561), 11-17.

อู่ทอง โฆวินทะ, “ความปราดเปรื่องของสัตว์ที่พูดได้: นิทเช่กับการกำเนิดภาษา,” วารสารภาษาและภาษาศาสตร์, ปีที่ 19, ฉบับที่ 2 (2544), 51-68.

Labanukrom, Naruedej, "Heidegger’s Interpretation on Nietzsche’s Concept of Nihilism," วารสารศิลปศาสตร์, ปีที่ 4, ฉบับที่ 2 (2555), 18-29.

Risse, Mathias, “The Second Treatise in In the Genealogy of Morality: Nietzsche on the Origin of the bad conscience,” European Journal of Philosophy, Vol. 9, No. 1 (April 2001), 55-81.

Risse, Mathias, “Origins of Ressentiment and Sources of Normativity,” Nietzsche-Studien, Vol. 32, No. 1, (2003), 142-170.

พิศาล มุกดารัศมี, แนวความคิดว่าด้วยความเสื่อมของระบอบการปกครอง ศึกษาเปรียบเทียบ Plato กับ Nietzsche, (วิทยานิพนธ์, สาขาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548).