พรรคพลังประชารัฐ และการเมืองของการดึง เข้ามาเป็นพวก
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานศึกษานี้เจาะลึกหลังบ้านพรรคพลังประชารัฐเพื่อเข้าใจชัยชนะในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2562 รัฐบาล คสช. และ ชนชั้นนำเผด็จการหวังสืบทอดอำนาจผ่านกลไกเลือกตั้งและพรรคการเมืองโดยใช้กลยุทธ์ดึงเข้าเป็นพวก งานนี้ตั้งคำถามว่า ชนชั้นนำเผด็จการพรรคพลังประชารัฐดึงนักการเมืองพรรคอื่นเข้ามาเป็นพวก ด้วยกลยุทธ์ใด มีกลวิธีอย่างไร ใช้เครื่องมือใด ชนชั้นนำเผด็จการถึงสามารถดึงบรรลุแผนการในปฏิบัติการดึงเข้ามาเป็นพวกได้จนสำเร็จ และชนะเลือกตั้ง โดยใช้แนวคิดกลยุทธ์การดึงเข้ามาเป็นพวกของ Maria Josua เป็นกรอบการวิเคราะห์ จากการศึกษาพบว่า ชนชั้นนำเผด็จการพรรคพลังประชารัฐปฏิบัติการสืบทอดอำนาจผ่านกลไกเลือกตั้งและพรรคการเมือง ด้วยกลยุทธ์การดึงเข้ามาเป็นพวก 5 กลวิธี ได้แก่ 1) โครงสร้างและเครือข่ายทางการเมือง 2) ตำแหน่งทางการเมือง 3) เงิน 4) ประโยชน์ด้านนโยบายและงบประมาณ และ 5) คดีความ ชนชั้นนำเผด็จการใช้กลยุทธ์เหล่านี้ เอื้อให้พรรคพลังประชารัฐชนะเลือกตั้ง พ.ศ. 2562 พวกเขาหวนคืนมาเป็นรัฐบาลสมใจ
Article Details
References
iLaw, “ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: พล.อ.ปรีชา โดดประชุม ไม่ใช่เรื่องใหญ่เท่า ใครกำลังออกกฎหมาย,” https://ilaw.or.th/node/4433 (สืบค้นเมื่อ 18 กรกฎาคม 2565).
ประจักษ์ ก้องกีรติ และวีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร, “ระบอบประยุทธ์ การสร้างรัฐทหารและทุนนิยมแบบช่วงชั้น”, วารสารฟ้าเดียวกัน 16, 2(2561): 7-41.
Steven Levitsky and Daniel Ziblatt, How Democracy Dies (Penguin Random House, 2018) 3.
TCIJ, ประมวลกิจกรรมการต้านรัฐประหาร รัฐบาลและนโยบาย (บางส่วน) ระหว่าง 22 พ.ค. 2557 – 22 พ.ค.2559 https://www.tcijthai.com/news/2016/05/scoop/6235 (สืบค้นเมื่อ 18 กรกฎาคม 2565)
คมชัดลึก, หยุดเกียร์ว่างทันที https://www.komchadluek.net/null/199713 (สืบค้นเมื่อ 8 กรกฎาคม 2564)
Natasha Ezrow and Erica Frantz, Dictators and Dictatorships Understanding Authoritarian Regimes and Their Leaders, (the United States of America: Sheridan Books, 2011), 74-76.
Ibid., 74-76.
BBC, https://www.bbc.com/thai/thailand-45570501 (สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2565).
BBC, https://www.bbc.com/thai/thailand-46397907 (สืบค้นเมื่อ 29 มิถุนายน 2565).
Natasha Ezrow and Erica Frantz, Dictators and Dictatorships Understanding Authoritarian Regimes and Their Leaders, Cited. 74-76.
Maria Josua, Co-optation as a Strategy of Authoritarian Legitimation Success and Failure in the Arab World, Cited.
Viengrat Nethipo, “Clientelism under the NCPO Regime: New Networks in the
Old Pattern,” Journal of Social Sciences, 52, No. 1, (2022), 36-63.
มติชนออนไลน์, https://www.matichon.co.th/politics/news_863658 (สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2563).
ไทยรัฐออนไลน์, https://www.thairath.co.th/news/politic/1307587 (สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2563).
ชัยวัฒน์ สารสมบัติ, ทหารกับพรรคการเมืองการเลือกตั้ง (2500-2526), (วิทยานิพนธ์), ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529). 49-62; ศุภชัย แสนยุติธรรม, บทบาททางการเมืองของทหาร: ศึกษาเฉพาะกรณีการจัดตั้งพรรคสามัคคีธรรม (2533-2553), (วิทยานิพนธ์), ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2537). บทคัดย่อ; ธงชัย แสงประดับ, การศึกษาเชิงเปรียบเทียบพรรคการเมืองไทย ศึกษาเฉพาะกรณีพรรคเสรีมนังคศิลากับพรรคสหประชาไทย (The comparative study of the Thai political parties case study: The Serimanangkasila and The United Thai People Parties), (วิทยานิพนธ์), ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2517). บทคัดย่อ; บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์, “พลังประชารัฐ ไม่ใช่พรรคแรกในประวัติศาสตร์การเมืองไทยที่ถูกมองว่าเป็น "พรรคร่างทรงทหาร"” BBC (เว็บไซต์), https://bbc.in/3J8VQRL (สืบค้นเมื่อ 23 เมษายน 2563).
Viengrat Nethipo, Clientelism under the NCPO Regime: New Networks in the
Old Pattern, Cited, 36-63.
เพิ่งอ้าง, 36.; Prajak Kongkirati, “Palang Pracharat Party: can old tricks win in a new political landscape? พรรคพลังประชารัฐ: การเมืองเก่าภายใต้ภูมิทัศน์ใหม่,” https://bit.ly/3OFfVQA (Retrieved 15 April 202); ประจักษ์ ก้องกีรติ, When we vote: พลวัตการเลือกตั้งและประชาธิปไตยในอาเซียน, (กรุงเทพฯ: มติชน, 2563) 263-264.
Maria Josua, “Co-optation as a Strategy of Authoritarian Legitimation Success and Failure in the Arab World,” https://ecpr.eu/filestore/paperproposal/9214dc5a-87f7-4466-ad42-3654f0d3f347.pdf, (accessed 30 April 2020).
Jennifer Gandhi, Political Institutions Under Dictatorship. (Cambridge: Cambridge University Press, 2010) 34-39.
Ibid., 7.
Pablo Lapegna, “The Problem with “Cooptation”” Political Sociology Section American Sociological Association, Vol. 20 Issue 1, (2014) 7-10. https://bit.ly/3OGXn2r (accessed 2 January 2020).
Ibid., 8.
Tom Ginsburg and Tamir Moustafa, Rule by law the politics of courts in Authoritarian Regimes, (The Americas, New York: Cambridge University Press, 2008) 2-11.; Ozan O. Varol, “Stealth Authoritarianism,” Iowa Law Review, Vol. 100, Issue 4 (May 2015), 1673-1742, https://bit.ly/3bfRM5z (accessed 20 April 2020)
สมชัย ศรีสุทธิยากร, กกต. ม. 44 : เชิงอรรถการเมืองไทย พ.ศ. 2556-2561, (กรุงเทพฯ: มูลนิธิเพื่อการศึกษาประชาธิปไตยและการพัฒนา (โครงการจัดพิมพ์คบไฟ), 2562) 195-196.
Ozan O. Varol, “Stealth Authoritarianism,” Iowa Law Review, Vol. 100, Issue 4 (May 2015), 1673-1742, https://bit.ly/3bfRM5z (accessed 20 April 2020).
Steven Levitsky and Daniel Ziblatt. How Democracy Die. (New York The United States: Penguin Random House, 2018.)
Prajak Kongkirati, Palang Pracharat Party: can old tricks win in a new political landscape? พรรคพลังประชารัฐ: การเมืองเก่าภายใต้ภูมิทัศน์ใหม่, อ้างแล้ว.; Viengrat Nethipo, Clientelism under the NCPO Regime: New Networks in the Old Pattern, Cited, 43.
จันจิรา ดิษเจริญ, “วงจรอุบาทว์ในการเมืองไทย the Vicious Cycle in Thai Politic,” ใน วัชรี ศรีคำ (บก.), เอกสารสืบเนื่องจากการประชุม (Proceedings) การประชุมวิชาการระดับชาติด้านมานุษยวิทยาและสังคมวิทยา ครั้งที่ 2 20 - 21 พฤศจิกายน 2563 ณ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. (อุบลราชธานี: คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2564), 269-284.
หทัยกาญจน์ ตรีสุวรรณ, “พลังประชารัฐ: จาก “เพื่อนสมคิด” สู่ “เพื่อประยุทธ์”,” BBC (เว็บไซต์), https://www.bbc.com/thai/thailand-45674926 (เข้าถึงเมื่อ 28 เมษายน 2564).
BBC, https://www.bbc.com/thai/thailand-45691152 (สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2563).
Berker Kavasoglu. “Opposition Party Organizational Features, Ideological Orientations, and Elite Co-Optation in Electoral Autocracies,” Democratization, Jun 2022, Vol. 29 Issue 4, 634-654, https://dx.doi.org/10.1080/13510347.2021.1994552 (accessed 13 April 2022); นิธิ เอียวศรีวงศ์. “นิธิ เอียวศรีวงศ์ | อำนาจนิยมซ่อนรูปที่สั่นคลอน, มติชน (เว็บไซต์), https://www.matichonweekly.com/column/article_267230 (23 มกราคม 2563).
Siripan Nogsuan Sawasdee, “Electoral integrity and the repercussions of institutional manipulations: The 2019 general election in Thailand,” Asian Journal of competitive politics, Vol. 5 Issue 1 (2019), 52-68.
ชัยอนันต์ สมุทวณิช. การเลือกตั้ง พรรคการเมือง รัฐสภา และคณะทหาร. (กรุงเทพฯ: บรรณกิจ, 2524), 303.
ธนบรรณ อู่ทองมาก, รัฐราชการไทยภายหลังการรัฐประหาร พ.ศ. 2557, ((วิทยานิพนธ์), ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560) บทคัดย่อ.
คมชัดลึก, https://www.komchadluek.net/null/199713 (สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2564).
เพิ่งอ้าง, บทที่ 4.
สุทิน คลังแสง, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 31 ตุลาคม 2564.
นาย ก. (นามแฝง), สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 20 มิถุนายน, 2564.
ธนบรรณ อู่ทองมาก, รัฐราชการไทยภายหลังการรัฐประหาร พ.ศ. 2557, ((วิทยานิพนธ์), ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560) บทที่ 4.
ตวงทิพย์ จินตะเวช, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 9 เมษายน 2564.
ทัศนีย์ บูรณุปกรณ์, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 18 ธันวาคม 2564.;
ณสดมภ์ ธิติปรีชา, ระบบเลือกตั้งและการจัดการเลือกตั้ง: เป้าหมายและผลลัพธ์ทางการเมือง, (วิทยานิพนธ์), สาขาวิชาการปกครอง ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560, 57-60.
iLaw, “เส้นทางการร่างรัฐธรรมนูญคสช.: ผ่านประชามติ แก้เพิ่มอีก 4 ครั้ง,” https://ilaw.or.th/node/4473 (สืบค้นเมื่อ 31 กรกฎาคม 2565)
สิริพรรณ นกสวน สวัสดี, ระบบเลือกตั้งเปรียบเทียบ, (กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์, 2561) 76-79.
เพิ่งอ้าง, 204-208.
เพิ่งอ้าง, 176.; iLaw, “เลือกตั้ง 62: ระบบนับที่นั่ง MMA ทำพรรคใหญ่แตกตัว พรรคเล็กเกิดไม่ได้,” iLaw (เว็บไซต์), https://ilaw.or.th/node/5059 (สืบค้นเมื่อ 23 พฤษภาคม 2565)
Johannes Gerschewski, “The Three Pillars of Stability: Legitimation, Repression, and Co-Optation in Autocratic Regimes,” Democratization, 20 (2013) 13-38, https://dx.doi.org/10.1080/13510347.2013.738860 (accessed 10 January 2021); Jennifer Gandhi, Political Institutions under Dictatorship, (Cambridge University Press). 2008, 41; Maria Josua, “Co-optation as a Strategy of Authoritarian Legitimation Success and Failure in the Arab World,” https://ecpr.eu/filestore/paperproposal/9214dc5a-87f7-4466-ad42-3654f0d3f347.pdf, (accessed 30 April 2020).; Ozan O. Varol, “Stealth Authoritarianism,” Iowa Law Review, Vol. 100, Issue 4 (May 2015), 1673-1742, https://bit.ly/3bfRM5z (accessed 20 April 2020).
ทัศนีย์ บูรณุปกรณ์, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 18 ธันวาคม 2564.; สมคิด เชื้อคง, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 14 พฤศจิกายน 2564.; สุทิน คลังแสง, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 31 ตุลาคม 2564.
สมคิด เชื้อคง, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 14 พฤศจิกายน 2564.; สุทิน คลังแสง, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 31 ตุลาคม 2564.
BBC. “สรุปความเคลื่อนไหวสำคัญของการเมืองไทยในรัฐบาล-รัฐสภา-ศาล-บนท้องถนน รอบปี 2564,” https://www.bbc.com/thai/thailand-59824304 (สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2565)
หทัยกาญจน์ ตรีสุวรรณ, “พลังประชารัฐ ร้าว แต่ยังไม่แตก ทางแยกของ ประยุทธ์-ประวิตร ในภาวะ “มังกรสองหัว”,” BBC (เว็บไซต์), https://www.bbc.com/thai/thailand-58703178, (สืบค้นเมื่อ 6 พฤศจิกายน 2564)
ประชาชาติธุรกิจ, “เปิดประวัติ นฤมล ภิญโญสินวัฒน์ รัฐมนตรี ในขั้ว ธรรมสนัส ถึงคิวถูกปลด,” https://www.prachachat.net/politics/news-482207, (สืบค้นเมื่อ 6 มิถุนายน 2565).
BBC, “สรุปความเคลื่อนไหวสำคัญของการเมืองไทยในรัฐบาล-รัฐสภา-ศาล-บนท้องถนน รอบปี 2564,” https://www.bbc.com/thai/thailand-59824304 (สืบค้นเมื่อ 30 มกราคม 2565)
ประชาไท, “‘กลุ่มสามมิตร’ คือใคร? 'ประวิตร' ชี้หนุน 'ประยุทธ์' นั่งนายกก็เรื่องของเขา,” https://prachatai.com/journal/2018/07/77682 (สืบค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม 2564)
นาย ก. (นามแฝง), สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 20 มิถุนายน 2564.; นาย ข. (นามแฝง), สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 30 ตุลาคม 2564. ตวงทิพย์ จินตะเวช, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 9 เมษายน 2564.; สมคิด เชื้อคง, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 14 พฤศจิกายน 2564.
รณฤทธิชัย คานเขต, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 24 มีนาคม 2564.
หทัยกาญจน์ ตรีสุวรรณ, “พลังประชารัฐ ร้าว แต่ยังไม่แตก ทางแยกของ ประยุทธ์-ประวิตร ในภาวะ “มังกรสองหัว”,” BBC (เว็บไซต์), https://www.bbc.com/thai/thailand-58703178. (สืบค้นเมื่อ 6 พฤศจิกายน 2564).
Siripan Nogsuan Sawasdee, “Electoral Integrity and the Repercussions of Institutional Manipulations: The 2019 General Election in Thailand,” Asian Journal of competitive politics, Vol. 5, No. 1 (2019), 52-68, https://dx.doi.org/10.1177/2057891119892321. (2-3)
isranews, “เช็กชื่อกลุ่มทุน บ. ประชารัฐฯ ‘ฐาปน’ เบอร์หนึ่งหุ้นใหญ่‘บิ๊กเอกชน-สื่อ’พรึบ ปี61ขาดทุน25ล.,” https://www.isranews.org/article/isranews-scoop/85968-isranewss00-85968.html (สืบค้นเมื่อ 4 พฤษภาคม 2564)
isranews, “‘อิศรา’ถาม‘ณัฏฐพล’ตอบ! หลังฉากงานโต๊ะจีน ปิดยอด 352 ล.-ชื่อ‘คลัง-ททท-กทม’มาจากไหน?,” https://www.isranews.org/isranews-article/74164-isranews7878-74164.html (สืบค้นเมื่อ 19 มกราคม 2565)
นิธิ เอียวศรีวงศ์, “นิธิ เอียวศรีวงศ์ | อำนาจนิยมซ่อนรูปที่สั่นคลอน,” มติชนสุดสัปดาห์ (เว็บไซต์), https://www.matichonweekly.com/column/article_267230 (สืบค้นเมื่อ 23 มกราคม 2563).
iLaw, “เปิดข้อกฎหมายคดียุบพรรคอนาคตใหม่: เงินกู้ไม่ใช่รายได้และกฎหมายไม่ได้ห้าม.” https://ilaw.or.th/node/5556 (สืบค้นเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2564).
นาย ข. (นามแฝง) นักการเมืองพรรคพลังประชารัฐ อุบลราชธานี, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 30 ตุลาคม 2564.; สุทิน คลังแสง, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 31 ตุลาคม 2564.
สมคิด เชื้อคง, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 14 พฤศจิกายน 2564.
สุทิน คลังแสง, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 31 ตุลาคม 2564.
ตวงทิพย์ จินตะเวช, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 9 เมษายน 2564.; นาย ก. (นามแฝง) นักการเมืองพรรคพลังประชารัฐ ศรีษะเกษ, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 20 มิถุนายน, 2564.; นาย ข. (นามแฝง) นักการเมืองพรรคพลังประชารัฐ อุบลราชธานี, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 30 ตุลาคม 2564.;
ตวงทิพย์ จินตะเวช, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 9 เมษายน 2564.
นาย ก. (นามแฝง) นักการเมืองพรรคพลังประชารัฐ ศรีษะเกษ, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 20 มิถุนายน 2564.
ทัศนีย์ บูรณุปกรณ์, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 18 ธันวาคม 2564.
นาย ก. (นามแฝง) นักการเมืองพรรคพลังประชารัฐ ศรีษะเกษ, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 20 มิถุนายน 2564.
รณฤทธิชัย คานเขต, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 24 มีนาคม 2564.
จิราพร สินธุไพร, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 24 ธันวาคม 2564.
สุทิน คลังแสง, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 31 ตุลาคม 2564.
นาย ก. (นามแฝง) นักการเมืองพรรคพลังประชารัฐ ศรีษะเกษ, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 20 มิถุนายน, 2564.
จิราพร สินธุไพร, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 24 ธันวาคม 2564.; ทัศนีย์ บูรณุปกรณ์, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 18 ธันวาคม 2564.; สุทิน คลังแสง, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 31 ตุลาคม 2564.; สมคิด เชื้อคง, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 14 พฤศจิกายน 2564.
Maria Josua, “Co-optation as a Strategy of Authoritarian Legitimation Success and Failure in the Arab World,” https://ecpr.eu/filestore/paperproposal/9214dc5a-87f7-4466-ad42-3654f0d3f347.pdf, (accessed 30 April 2020).
ภาคภูมิ ฤกขะเมธ, ความร่วมมือในการออกแบบนโยบายสาธารณะ: ศึกษากรณีนโยบายประชารัฐเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากของรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา,” รัฐศาสตร์สาร, 40, No.1 (2562): 83-133.
ประจักษ์ ก้องกีรติ และ วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร, “ระบอบประยุทธ์ การสร้างรัฐทหารและทุนนิยมแบบช่วงชั้น,” วารสารฟ้าเดียวกัน 16, (2): 13-14.
รณฤทธิชัย คานเขต, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 24 มีนาคม 2564.; นาย ก. (นามแฝง) นักการเมืองพรรคพลังประชารัฐ ศรีษะเกษ, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 20 มิถุนายน 2564.; นาย ข. (นามแฝง) นักการเมืองพรรคพลังประชารัฐ อุบลราชธานี , สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 30 ตุลาคม 2564.; ตวงทิพย์ จินตะเวช, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 9 เมษายน 2564.
เพิ่งอ้าง, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน.
Natasha Ezrow and Erica Frantz, Dictators and Dictatorships Understanding Authoritarian Regimes and Their Leaders. (the United States of America: Sheridan Books, 2011). 69-74.
เวียงรัฐ เนติโพธิ์, อุปถัมภ์ค้ำใคร: การเลือกตั้งไทยกับประชาธิปไตยที่ก้าวถอยหลัง, (กรุงเทพฯ: มติชน, 2565), 105-109.
บุรฉัตร จันทร์แดง เสาวลักษณ์ โกศลกิตติอัมพร และ สัญญา เคณาภูมิ, “นโยบายบัตรสวัสดิการแห่งรัฐกับมาตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ,” วารสารรัชต์ภาคย์, 13, No. 31 (2019), 1-13.; นาง ข. (นามแฝง), สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 20 สิงหาคม 2563.; นาย ค. (นามแฝง) สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 18 มกราคม 2564.; นาง จ. (นามแฝง), สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 12 ธันวาคม 2564.
Pablo Lapegna, “The Problem with “Cooptation”” Political Sociology Section American Sociological Association, Vol. 20 Issue 1, (2014) 7-10. https://bit.ly/3OGXn2r (accessed 2 January 2020).
Geddes, Barbara. “Authoritarian Breakdown: Empirical Test of a Game Theoretic Argument,” Paper prepared for presentation at the annual meeting of the American Political Science Association, Atlanta, (1999).; Jennifer Gandhi, Political Institutions Under Dictatorship. (Cambridge: Cambridge University Press, 2010). Johannes Gerschewski, “The Three Pillars of Stability: Legitimation, Repression, and Co-Optation in Autocratic Regimes.” Democratization, 20 (2013), 13-38.
Maria Josua, “Co-optation as a Strategy of Authoritarian Legitimation Success and Failure in the Arab World,” https://ecpr.eu/filestore/paperproposal/9214dc5a-87f7-4466-ad42-3654f0d3f347.pdf, (accessed 30 April 2020).
Ozan O. Varol, “Stealth Authoritarianism,” Iowa Law Review, Vol. 100, Issue 4 (May 2015), 1673-1742, https://bit.ly/3bfRM5z (accessed 20 April 2020).
เกษียร เตชะพีระ, “Pessimism of the intellect, Optimism of the will: Reflections on Thailand’s 2019 General Elections” ใน ประจักษ์ ก้องกีรติ (บก.), อดีต ปัจจุบัน และอนาคต ประชาธิปไตยไทย, (กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์, 2562). 5-15.
BBC, “พรรคพลังประชารัฐ: ใครเป็นใครในผู้ร่วมก่อตั้ง,” https://www.bbc.com/thai/thailand-45691152 (สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2563.)
จิราพร สินธุไพร, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 24 ธันวาคม 2564.; ทัศนีย์ บูรณุปกรณ์, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 18 ธันวาคม 2564.; สุทิน คลังแสง, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 31 ตุลาคม 2564.; สมคิด เชื้อคง, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 14 พฤศจิกายน 2564.
เพิ่งอ้าง, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน.
สมคิด เชื้อคง, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 14 พฤศจิกายน 2564.
สุทิน คลังแสง, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 31 ตุลาคม 2564.
Viengrat Nethipo. “Clientelism under the NCPO Regime: New Networks in the Old Pattern,” Journal of Social Sciences, 52 No. 1 (2022): 36-63.; iLaw, “เลือกตั้ง 62: 'พรรคพลังประชารัฐ' ตัวแปรในการสืบทอดอำนาจ คสช. https://n9.cl/uhtpz (สืบค้นเมื่อ 22 พฤษภาคม 2565).; ปฐวี โชติอนันต์, “ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภายใต้บริบทการกระจายอํานาจในยุครัฐบาลของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (พ.ศ. 2557-2562) the Relations between State and Local Government under the Context of Decentralization During the National Council for Peace and Order (2014-2019),” วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal), ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2564) (2564): 42-76.