กำเนิดและการก่อตั้งสถานีวิทยุเสียงประชาชนแห่งประเทศไทยในฐานะเวทีสถาปนาความเป็นไทยทวนกระแสของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2504-2508

Main Article Content

กนกวรรณ เปี่ยมสุวรรณศิริ

บทคัดย่อ

บทความนี้มุ่งศึกษาประวัติศาสตร์กำเนิดและการก่อตั้งสถานีวิทยุเสียงประชาชนแห่งประเทศไทย (สปท.) (พ.ศ. 2504-2508) องค์การโฆษณาที่ใหญ่และเป็นระบบที่สุดของขบวนปฏิวัติไทยยุคสงครามเย็น โดยใช้วิธีวิจัยเอกสารประกอบการสัมภาษณ์ปัญญาชนฝ่ายซ้ายผู้ร่วมมีบทบาทหรือรู้เห็นเหตุการณ์ เพื่อศึกษาฐานคิดทฤษฎีที่รองรับการก่อตั้ง การก่อตั้งและบทบาทหน้าที่ของ สปท. จากการศึกษาพบว่า สปท. กำเนิดขึ้นภายใต้การนำงานแบบรวมหมู่ของฝ่ายซ้ายระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) และกลุ่มปรีดี พนมยงค์ โดยรับอิทธิพลจากแนวคิดสงครามประชาชนของพรรคคอมมิวนิสต์จีน (พคจ.) เพื่อต่อสู้ช่วงชิงอำนาจนำในสนามความหมายว่าด้วย “ความเป็นไทย” โดยกลุ่มพลังฝ่ายซ้ายใช้ยุทธวิธีทางภาษาศาสตร์เป็นเครื่องมือเสนอ “ความเป็นไทย” แบบประชาชาตินิยมฝ่ายซ้ายที่เน้นลัทธิเสมอภาคนิยม-สากลนิยมคอมมิวนิสต์เพื่อต่อสู้คัดง้างกับ “ความเป็นไทย” แบบชาตินิยมราชการของรัฐบาลเผด็จการทหารยุคจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์และยุคจอมพลถนอม กิตติขจรที่เน้นลัทธิทุนนิยม-เชื้อชาตินิยม-รัฐราชการ-ทหารนิยม-กษัตริยนิยม-สากลนิยมแอนตี้คอมมิวนิสต์ ซึ่งสงครามความเป็นไทยนี้เป็นเชื้อมูลสำคัญที่นำไปสู่การต่อสู้ด้วยกำลังอาวุธระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐกับกองกำลังของ พคท. ยาวนานกว่า 20 ปี (พ.ศ. 2508-2528)

Article Details

บท
Articles

References

Allan K. Wildman. “Lenin's Battle with Kustarnichestvo: The Iskra Organization in Russia.” Slavic Review 23, no. 3 (1964): 479–503.

Bhayome Chulanond. “The First Revolutionary Shot Fired in Thailand.” in The First Shot: Revolutionary Spark of Armed Struggle in Thailand. Peking: The Office of the Representative Abroad of the Patriotic Front of Thailand, 1967.

Craig J. Reynolds and Lysa Hong. “Marxism in Thai Historical Studies.” Journal of Asian Studies 43, no. 1 (1983): 77-104.

David A. Wilson. “Thailand and the Spirit of Bandung (Part II).” The China Quarterly, no.31 (July-September 1967): 96-127.

Donald E. Weatherbee. The United Front in Thailand. Columbia: University of South Carolina, 1970.

FOIA Electronic Reading Room. CIA-RDP86T00608R000200150004-1. Peking's ‘Dual-Track’ Policy in Southeast Asia Produces Gains (August 22, 1975).

J. V. Stalin. “The October Revolution and the National Question,” quoted in Mao Tse-tung, “On New Democracy.” https://bit.ly/3Bm0iue (accessed June 24, 2022).

Kasian Tejapira. Commodifying Marxism: The Formation of Modern Thai Radical Culture, 1927-1958. Kyoto: Kyoto University Press, 2001.

Lin Piao. Long Live the Victory of the People's War!. Peking: Foreign Languages Press, 1965.

Mao Tse-tung. “A Single Spark Can Start a Prairie Fire.” https://shorturl.asia/cR4KL. (accessed May 3, 2022).

Mao Tse-tung. “On New Democracy.” https://bit.ly/3Bm0iue. (accessed June 24, 2022).

Mao Tse-tung. “On Protracted War.” in Selected Military Writings of Mao Tse-tung. Peking: Foreign Languages Press, 1963.

Mao Tse-tung. “Problems of War and Strategy.” https://bit.ly/2NVfGDu. (accessed June 25, 2022).

Mao Tse-tung. “Talks at the Yenan Forum on Literature and Art.” https://bit.ly/3OAORls. (accessed June 25, 2022).

Mao Tse-tung. “The Chinese Revolution and the Chinese Communist Party.” https://shorturl.asia/WhFkn. (accessed June 2, 2022).

Marxists Internet Archive. “The ‘Great Debate’: Documents of the Sino-Soviet Split.” https://bit.ly/3ROpVK5. (accessed June 24, 2022).

Ministry of Finance. Statistical Year Book of the Kingdom of Siam B.E. 2506.

Saiyud Kerdphol. The Struggle for Thailand: Counter-Insurgency 1965-1985. Bangkok: S. Research Center Company, 1986.

Somsak Jeamteerasakul. “The Communist Movement in Thailand.” PhD diss., Monash University, 1993.

The Bangkok Post. April 16 and 23, 1962.

The Bangkok Post. April 28, 1960.

The Bangkok Post. July 11 and 13 1960.

The Bangkok Post. June 9 and 20, 1960.

Vladimir Lenin. “Party Organisation and Party Literature.” 1905. ใน สรรนิพนธ์เหมาเจ๋อตุง เล่มสาม (ตอนต้น). ปักกิ่ง: สำนักภาษาต่างประเทศ ปักกิ่ง, 2511.

Yoneo Ishii. “Church and State in Thailand.” Asian Survey 8, no. 10 (1968): 864-871.

Pathomporn Srimantha. เฟซบุ๊ก, 21 พฤษภาคม 2559. https://bit.ly/3vGzi50.

Prakan Klinfoong. “ดีเบทสมศักดิ์-ธงชัย ว่าด้วยการรื้อฟื้นพิธีพืชมงคล/แรกนาขวัญ หลังยุคคณะราษฎร.” เฟซบุ๊ก, 15 มีนาคม 2564. https://bit.ly/3BG0IvW.

กลุ่มเพื่อนสปท.. ที่นี่...สถานีวิทยุเสียงประชาชนแห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ: แสงดาว, 2565.

กุลลดา เกษบุญชู มี้ด. “การเมืองไทยในยุคสฤษดิ์-ถนอม ภายใต้โครงสร้างอำนาจโลก.” รายงานการวิจัยทุนปรีดี พนมยงค์ และมูลนิธิ 50 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทย, 2550.

เกษียร เตชะพีระ, “จากเพลงเพื่อชีวิตถึงเพลงปฏิวัติ (1)-(2),” มติชนสุดสัปดาห์ 23, ฉ.1181 (เมษายน 2546): 75 ; ฉ.1182 (เมษายน 2546): 61-62.

เกษียร เตชะพีระ. “การเมืองไทยจาก 14-6 ตุลาฯ: สองชาตินิยมชนกัน,” มติชนสุดสัปดาห์ 22, ฉ.1156-1158 (ตุลาคม-พฤศจิกายน 2545): 43.

เกษียร เตชะพีระ. “การเมืองวัฒนธรรมว่าด้วยประชาธิปไตย: บทนำเปรียบเทียบเชิงทฤษฎี.” สังคมศาสตร์ปริทัศน์ 18, ฉ.1 (2539): 29-39.

เกษียร เตชะพีระ. “กำเนิดวาทกรรม ‘เผด็จการประชาธิปไตย’.” เฟซบุ๊ก. 6 มิถุนายน 2562. https://bit.ly/3damsWk.

เกษียร เตชะพีระ. “คำนำเสนอ.” ใน ประจักษ์ ก้องกีรติ, และแล้วความเคลื่อนไหวก็ปรากฏ: การเมืองวัฒนธรรมของนักศึกษาและปัญญาชนก่อน 14 ตุลา. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2556.

เกษียร เตชะพีระ. “วาทกรรมความเป็นไทย: ลาว เขมร ญวน พม่าในจินตนากรรมชาติไทย.” มติชนสุดสัปดาห์ 22, ฉ.1148 (19-25 สิงหาคม 2545).

เกษียร เตชะพีระ. “วิจารณ์สมศักดิ์ เจียมฯ: มองต่างมุมซ้าย 14-6 ตุลาฯ.” เฟซบุ๊ก, 12 พฤศจิกายน 2555. https://bit.ly/3bMwNr5.

เกษียร เตชะพีระ. “สงครามประชาชนในชนบทของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย.” เอกสารประกอบการเรียนวิชาการเมืองการปกครองไทย คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการศึกษา 1/2561.

เกษียร เตชะพีระ. “สุลักษณ์ ศิวรักษ์: นักรบในสมรภูมิการเมืองวัฒนธรรม.” รัฐศาสตร์สาร 18, ฉ.3 (ธันวาคม 2535): 133-143.

เกษียร เตชะพีระ. จินตนากรรมชาติที่ไม่เป็นชุมชน: คนชั้นกลางลูกจีนกับชาตินิยมโดยรัฐของไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาและฝึกอบรมนักข่าว หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ, 2537.

คติพจน์ประธานเหมาเจ๋อตุง. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, 2551.

จิตร ภูมิศักดิ์. ถึงร้อยดาวพราวพรายกระจายแสง. กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน, 2551.

ชนิดา ชิตบัณฑิตย์. โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ: การสถาปนาพระราชอำนาจนำในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2550.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และคณะ. สำนักนั้นธรรมศาสตร์และการเมือง พ.ศ. 2477-2511. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า, 2535.

ชีวิตจริงยิ่งกว่านิยาย ระลึกถึง ชนิด สายประดิษฐ์ ‘จูเลียต’ คู่ชีวิต กุหลาบ สายประดิษฐ์ ‘ศรีบูรพา’. กรุงเทพฯ: ม.ป.ป., 2554.

เชาวน์ พงษ์พิชิต. ประวัติพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ: แสงดาว, 2565.

เดือน บุนนาค. ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย. พระนคร: ม.ธ.ก., 2489.

โดนัลด์ อี วีเทอร์บี. แนวร่วมปลดแอกประชาชนชาวไทย. แปลโดย แสงเพลิง. ม.ป.ท.: ม.ป.พ., 29-33.

ทักษ์ เฉลิมเตียรณ. การเมืองระบบพ่อขุนอุปถัมภ์แบบเผด็จการ. แปลโดย พรรณี ฉัตรพลรักษ์, ประกายทอง สิริสุข และธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2548.

ทิพย์พาพร เทศเรียน. “พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย และพรรคคอมมิวนิสต์จีน: ศึกษาความสัมพันธ์ทางอุดมการณ์ ในช่วงปี 1969-1982.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530.

ธ.เพียรวิทยา [นามแฝง]. “ประวัติและบทเรียนบางประการของพรรคเรา.” ฟ้าเดียวกัน 1, ฉ.1 (มกราคม-เมษายน 2546): 170-200.

ธรรมจักร 5, ฉ.1 (สิงหาคม 2495).

ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์. “บทบาททางการเมืองของจอมพลถนอม กิตติขจร พ.ศ. 2506-2516.” ดุษฎีนิพนธ์, ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550.

นภาพร อติวานิชยพงศ์. พัฒนาการความคิดเศรษฐศาสตร์การเมืองไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2475-ปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: กลุ่มเศรษฐศาสตร์การเมือง สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์-มหาวิทยาลัย, 2531.

นิตย์ พงษ์ดาบเพชร. “แด่เธอ.” บันทึกการแสดงมหกรรมศิลปวัฒนธรรมเพื่อประชาธิปไตย 30 ปี 14 ตุลา วันประชาธิปไตย ณ สนามฟุตบอลมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 14 ตุลาคม 2546. 4 นาที. https://bit.ly/3opPR12. (สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2565).

นิธิ เอียวศรีวงศ์. “เมืองไทยที่มี สุลักษณ์ ศิวรักษ์.” ผู้จัดการรายวัน, 11 มกราคม 2536.

นิษฐนาถ นิลดี. “ขบวนการคอมมิวนิสต์ในเวียดนาม ค.ศ.1945-1975.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555.

บรรลือ เรืองตระกูล. คู่มือการสอบสวนคดีอาญา ตอนที่ 1. กรุงเทพฯ: กรมตำรวจ, 2502.

เบน แอนเดอร์สัน. ชุมชนจินตกรรม: บทสะท้อนว่าด้วยกำเนิดและการแพร่ขยายของชาตินิยม, บรรณาธิการโดย ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, แปลโดย กษิร ชีพเป็นสุข และคณะ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2552.

เบนจามิน แบตสัน. “กุหลาบ สายประดิษฐ์ กับสงครามชีวิต,” แปลโดย วนิดา อยู่ประพัฒน์, ใน กุหลาบ สายประดิษฐ์: กัลยาณมิตรของพหูชน. กรุงเทพฯ: อาศรมวงศ์สนิท ร่วมกับสถาบันสันติประชาธรรม, 2537.

ประจักษ์ ก้องกีรติ. และแล้วความเคลื่อนไหวก็ปรากฏ: การเมืองวัฒนธรรมของนักศึกษา และปัญญาชนก่อน 14 ตุลา. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2556.

ประชาชน. 28 มีนาคม 2494

ประชามิตร. 28 มีนาคม 2494

ป้าลม [นามแฝง], เนาวนิจ สิริผาติวิรัตน์ และไอดา อรุณวงศ์. ความงามของชีวิต และสังเขปประวัติ อัศนี พลจันทร. กรุงเทพฯ: อ่าน, 2561.

พ.เมืองชมพู [นามแฝง]. สู่สมรภูมิภูพาน. กรุงเทพฯ: มติชน, 2543.

เพลงเดินจุฬาฯ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. https://bit.ly/3v7Z2Hw. (สืบค้นเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2565)

เยาวนิตย์ เพียงเกษ. “แนวความคิดในบทเพลงปฏิวัติของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย.” ปริญญามหาบัณฑิต, คณะศิลปศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2544.

รังษี ประภากร [นามแฝง]. “บันทึกหลังไมค์ 1.” ใน สายลมเปลี่ยนทิศ แต่ดวงจิตมิได้เปลี่ยนเลย: ผลึกแห่งชีวิตและเสียงเพลงปฏิวัติไทย, 101-139. กรุงเทพฯ: โครงการบันทึกและเผยแพร่ประวัติศาสตร์งานเพลงปฏิวัติ, 2546.

ฤดี เริงชัย [นามแฝง]. หยดหนึ่งในกระแสธาร. กรุงเทพฯ: มิ่งมิตร, 2539.

วรรณไว พัธโนทัย. โจวเอินไหล ผู้ปลูกไมตรีไทย-จีน. ปทุมธานี: ประโคนชัย, 2554.

วัฒน์ วรรลยางกูร. คีตกวีลูกทุ่ง ไพบูลย์ บุตรขัน. กรุงเทพฯ: เดอะไรท์เตอร์ซีเคร็ท, 2561.

วิวัฒน์ คติธรรมนิตย์. กบฏสันติภาพ. กรุงเทพฯ: คบไฟ, 2539.

ศุขปรีดา พนมยงค์. “ประธานโฮจิมินห์-รัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์.” ปรีดีสาร (พฤษภาคม 2545): 4-12.

ศุขปรีดา พนมยงค์. โฮจิมินห์ เทพเจ้าผู้ยังมีลมหายใจ. กรุงเทพฯ: มิ่งมิตร, 2553.

สมบัติ จันทรวงศ์ และชัยอนันต์ สมุทวณิช. ความคิดทางการเมืองไทย. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ, 2523.

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. “‘8 สิงหา 2508’ (8-8-08) ‘วันเสียงปืนแตก’ (ตอน1).” ประชาไท. 8 สิงหาคม 2552. https://shorturl.asia/YJxes.

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. “‘8 สิงหา 2508’ (8-8-08) ‘วันเสียงปืนแตก’ (ตอน2).” ประชาไท. 10 สิงหาคม 2552. https://shorturl.asia/rUKV0.

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. “ประวัติ พคท. ฉบับ พคท. (1).” ฟ้าเดียวกัน 1, ฉ.1 (มกราคม-เมษายน 2546): 155-168.

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. “ประวัติศาสตร์ที่รอการค้นคว้าต่อ: กรณีปรีดี กับความพยายาม ‘แตกหัก’ กับเจ้า.” เฟซบุ๊ก, 7 มีนาคม 2558. https://bit.ly/3v67B5A.

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. “ปัญญาชนปีกซ้าย หลัง พคท.” งานเสวนาในวาระชาตกาล 95 ปี อัศนี พลจันทร.” คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 18 กันยายน 2556. 1 ชั่วโมง 31 นาที. https://bit.ly/3zmW1W2. (สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2565).

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. “ปัญหาเรื่องการศึกษาสถาบันกษัตริย์.” ฟ้าเดียวกัน 11, ฉ.2 (กรกฎาคม-กันยายน 2546): 78-89.

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. “พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยกับกบฏสันติภาพ.” ใน กึ่งศตวรรษ ขบวนการสันติภาพ “ความจริง” เกี่ยวกับ “กบฏสันติภาพ”: สำนึกทางประวัติศาสตร์ของคนสามรุ่น, 145-223. กรุงเทพฯ: เมฆขาว, 2545.

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. ประวัติศาสตร์ที่เพิ่งสร้าง. กรุงเทพฯ: 6 ตุลารำลึก, 2544.

สยามนิกร. 22 เมษายน 2505, 25 เมษายน 2505 และ 6 เมษายน 2505.

สารบาญเพลง เล่มที่ 1 มีนาคม 2510. เฟซบุ๊ก. 10 มิถุนายน 2562. https://bit.ly/3A0RAAS.

สารเสรี. 1 กุมภาพันธ์ 2505, 21-24 กุมภาพันธ์ 2504 และ 26 เมษายน 2505.

สิริลักษณ์ จันทรวงศ์. ขึ้นสู้บนภูพยัคฆ์: ปัญญาชน-สู่-หนทางปฏิวัติ. กรุงเพทฯ: สุขภาพใจ, 2549.

สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ และคณะ. “ใต้ธงปฏิวัติ: ประวัติศาสตร์พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย จากคำบอกเล่าของ ธง แจ่มศรี และสหาย (พ.ศ. 2464-2537).” ใน อนุสรณ์งานศพ ธง แจ่มศรี (ม.ป.ท.: ม.ป.พ., 2562).

เสาวณิต จุลวงศ์. “โลกทัศน์ในโคลงโลกนิติ.” วรรณวิทัศน์ 7 (พฤศจิกายน 2550): 127-152.

เหมือนฝัน [นามแฝง]. บันทึกหลังไมค์ดาวแดง. กรุงเทพฯ: 6 ตุลารำลึก, 2548.

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายทวีป วรดิลก ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม กรุงเทพฯ วันเสาร์ที่ 30 กรกฎาคม 2548. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดีการพิมพ์, 2548.

อู๋ตง. “ชีวประวัติสหายเซี่ยกวง.” ใน กิจกรรมทางการเมืองของชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทย (ค.ศ. 1906-1939), แปลโดย เชาวน์ พงษ์พิชิต, 88-89. กรุงเทพฯ: ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. [ชนิด สายประดิษฐ์?]. “บันทึกประวัติชีวิตการต่อสู้ของกุหลาบ สายประดิษฐ์,” บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. [ธำรง จันดาวงศ์?]. “ชีวประวัติย่อและการงานบางตอน,” บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. “ข้อบันทึกของ พ. [นามแฝง],” บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. “คำรายงานของกุหลาบ สายประดิษฐ์ ต่อชมรมสัมมนานักเขียนอาเซีย-อัฟริกาที่ปักกิ่ง วันที่ 20 ธันวาคม 2507,” บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. กุหลาบ สายประดิษฐ์ ถึง สุรพันธ์ สายประดิษฐ์, จดหมาย, 22 เมษายน 2505, บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. กุหลาบ สายประดิษฐ์. “(ร่าง) คำปราศรัย,” บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. กุหลาบ สายประดิษฐ์. “กลอนปลุกประชาชน,” บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. กุหลาบ สายประดิษฐ์. “ตั้งแนวร่วม,” บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. กุหลาบ สายประดิษฐ์. “ประชาชนปราบเสือกระดาษ,” บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. กุหลาบ สายประดิษฐ์. “ประวัติพัฒนาการแห่งวรรณคดีใหม่ของจีน,” บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. กุหลาบ สายประดิษฐ์. “ประวัติศาสตร์การปฏิวัติ,” บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. กุหลาบ สายประดิษฐ์. “เสียงครื้นครั่นสั่นสมุทรพสุธา,” บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. จางหย่วน [นามแฝง] ถึง หวางฟุ [นามแฝง], จดหมาย, 23 พฤศจิกายน 2499, บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. ชนิด สายประดิษฐ์. “สรุปงานและโครงการของหน่วยต่างประเทศ มกราคม-มิถุนายน พ.ศ. 2506,” บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. เซียวหมิ่น ถึง กุหลาบ สายประดิษฐ์, จดหมาย, 22 มีนาคม 2505 และ 2 เมษายน 2505, บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. ธรณี [นามแฝง]. “พวกขายชาติและปล้นชาติจะหนีคำพิพากษาของประวัติศาสตร์ไปไม่ได้,” บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. ธรณี [นามแฝง]. “รัฐบาลถนอมเดินตามหลังอเมริกาดิ่งลงเหว,” บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. ธรณี [นามแฝง]. “รัฐบาลถนอมต่อต้านความเป็นกลางเพื่อผลประโยชน์ของใคร?,” บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. ธรณี [นามแฝง]. “หมาหัวเน่า,” บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. ประกายไฟ [นามแฝง]. “กรุงศรีอยุธยาไม่สิ้นประชาชน ตอนที่ 1-8,” บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. พายุ [นามแฝง]. “นโยบายการเมืองแบบลูกบิลเลียด,” บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. มดแดง [นามแฝง]. “เครื่องบินอเมริกา, แผ่นดินไทย และศีลธรรมของพวกรัฐบาลถนอม...,” บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. เมาเซตุง [Mao Tse-tung]. “จากประวัติศาสตร์การปฏิวัติจีน จากเรื่อง การปฏิวัติของจีนและพรรคคอมมิวนิสต์จีน ของเมาเซตุง ธันวาคม 1939.” แปลโดย กุหลาบ สายประดิษฐ์, บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. เมาเซตุง [Mao Tse-tung]. “จากประวัติศาสตร์การปฏิวัติจีน จากเรื่อง คำนำในวารสารคอมมิวนิสต์ ของเมาเซตุง 1939.” แปลโดย กุหลาบ สายประดิษฐ์, บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. เมาเซตุง [Mao Tse-tung]. “จากประวัติศาสตร์การปฏิวัติจีน จากเรื่อง ว่าด้วยการปฏิบัติ ของเมาเซตุง 1937.” แปลโดย กุหลาบ สายประดิษฐ์, บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. เมาเซตุง [Mao Tse-tung]. “จากประวัติศาสตร์การปฏิวัติจีน จากเรื่อง ว่าด้วยความขัดแย้ง ของเมาเซตุง 1937.” แปลโดย กุหลาบ สายประดิษฐ์, บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. เมาเซตุง [Mao Tse-tung]. “จากประวัติศาสตร์การปฏิวัติจีน จากเรื่อง ว่าด้วยประชาธิปไตยแผนใหม่ ของเมาเซตุง มกราคม 1940.” แปลโดย กุหลาบ สายประดิษฐ์, บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. เลนิน [Vladimir Lenin] “ปาฐกถาว่าด้วยรัฐ.” แปลโดย กุหลาบ สายประดิษฐ์, บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลกุหลาบ สายประดิษฐ์. เอ็งเก็ลส์ [Friedrich Engels]. “สังคมนิยม แบบเนรมิตและแบบวิทยาศาสตร์.” แปลโดย กุหลาบ สายประดิษฐ์, บ้านศรีบูรพา.

เอกสารส่วนบุคคลวาณี สายประดิษฐ์. ว.ณ. พนมยงค์ [นามแฝง]. “ลุงโฮ,” บ้านศรีบูรพา.