การพัฒนานโยบายแห่งชาติทางทะเลของไทยผ่านการเรียนรู้ประสบการณ์จากประเทศเพื่อนบ้าน

Main Article Content

โสภารัตน์ จารุสมบัติ

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


ประเทศไทยให้ความสำคัญกับการรักษาผลประโยชน์และความมั่นคงทางทะเลมาอย่างต่อเนื่อง   มีการออกกฎหมาย และจัดตั้งหน่วยงานเพื่อขับเคลื่อนงานทั้งในระดับชาติและระดับพื้นที่ แต่ด้วยความซับซ้อนของบริบททางทะเลและชายฝั่ง จึงเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องมีการพัฒนานโยบาย และยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการผลประโยชน์และความมั่นคงทางทะเลให้มีทิศทางที่สอดคล้อง กับการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ บทความนี้นำเสนอการศึกษาประสบการณ์จากประเทศเพื่อนบ้าน 4 ประเทศ คือ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงค์โปร์ เพื่อเป็นแนวทางการพัฒนานโยบายแห่งชาติทางทะเลของไทย โดยประเด็นสำคัญที่ประเทศไทยควรพิจารณา ได้แก่ การกำหนดวิสัยทัศน์ และแนวทางการบริหารจัดการผลประโยชน์ชาติทางทะเลของประเทศไทยอย่างชัดเจน การจัดตั้งหน่วยงานเชิงวิชาการที่มีความเป็นอิสระในลักษณะคลังสมอง (Think Tank )ด้านทะเลและชายฝั่ง เพื่อเป็นหน่วยสนับสนุนข้อมูลเพื่อการตัดสินใจทางนโยบายอย่างมีเหตุผล และนโยบายทางทะเลแห่งชาติของประเทศไทยควรมีการนำแนวคิดเศรษฐกิจสีน้ำเงิน (Blue Economy) เป็นพื้นฐานโดยจัดลำดับความสำคัญของภาคส่วน (sector) เศรษฐกิจทางทะเลที่ประเทศไทยต้องให้ความสำคัญในการพัฒนาไปสู่ความยั่งยืน

Article Details

บท
Articles

References

สุชาตา ชนะจิตร, เอกสารสังเคราะห์เล่มที่ 1: ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล: นโยบายการพัฒนาสมุททานุภาพ สิงค์โปร์ เกาหลีใต้ ออสเตรเลียและไทย, (กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2553), 26-27.

เผดิมศักดิ์ จารยะพันธุ์, ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล สถานการณ์ และข้อเสนอ, (กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2550), 66 .

Elisabeth M Borgese, “The Oceanic Cycle : Governing the Sea as a Global Resource”, (Tokyo: United Nations University Press, 1998), 133.

นวรัตน์ ไกรพานนท์ กัญติยา สดใส และวรัชยา วัญชนา, “ช่องว่างทางนโยบายกับการจัดการผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลของไทย” ใน ความท้าทายการจัดการผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลไทยภายใต้กติกาสากล, (กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย,2556), 195-236

สุชาตา ชนะจิตร, เอกสารสังเคราะห์เล่มที่ 1 : ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล: นโยบายการพัฒนาสมุททานุภาพ สิงค์โปร์ เกาหลีใต้ ออสเตรเลียและไทย, อ้างแล้ว, 12-15

โสภารัตน์ จารุสมบัติ, อนุสัญญาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 กับการดำเนินงานของประเทศไทย, (กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2559), 60-95

เผดิมศักดิ์ จารยะพันธุ์และคณะ, การจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายฉบับย่อในประเด็นเร่งด่วนเกี่ยวกับ ผลประโยชน์ทางทะเลของประเทศไทย, (กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย,2562), 25-33

Charles N. Ehler et al, “Guidellines to assist policy makers and managers of coastal areas in the integration of coastal management programs and national climate change action plans” Ocean and Coastal Management on ScienceDirect, Vol. 37, issue. 1 (1997), 7-27.

Saharuddin Abdul Hamid, “National Ocean Policy- New Opportunities for Malaysian Ocean Development” Marine Policy on ScienceDirect, Vol. 25, issue. 6, (November 2001), 429.

Abdullah HISHAM OMAR , Nazirah MOHAMAD ABDULLAH , Shuib RAMBAT, Noor Anim Zanariah YAHAYA, Rasheila RAHIBULSADRI, Asraf ABDULLAH, Rahim YAHYA, Hasan JAMIL , TENG Chee Hua , CHAN Keat Lim (2015), Sustainable Marine Space Managements: Malaysia Perspective, from http://www.gdmc.nl/3DCadastres/literature/3Dcad_2015_13.pdf (accessed 2 September 2018)

The Maritime Review, https://maritimereview.ph/national-marine-policy-review-gains-and-gaps/ (accessed 18 May 2018).

Maribel Agurilos, “Designing an Institutional Structure for Ocean Governance: Options for the Philippines,” Ocean Law and Policy Series, Vol., No. 1 (January-June 1997), 11-25.

Michael Garcia, Progress in The Implementation of the Philippines National Marine Policy: Issues and Options, (New York: United Nations - The Nippon Foundation Fellow), 33-40.

Dewi Fortuna Anwar, “The Emergence of Indonesia’s Ocean Policy,” S. Rajaratnam School of International Studies (RSIS), www.rsis.edu.sg/rsis-publication/rsis/co18028 (accessed 13 October 2017).

Buddy Suseto, Zarina Othman and Farizal Mohd Razalli (2017, September), The need to reform Indonesia’s maritime strategy: A review, from https://jurnal.ugm.ac.id/ijg/article/view/27954/pdf (accessed 8 March 2018)

Evan Laksmana. 2017. “Indonesian Sea Policy : Accelerating Jakowi’s Global Maritime Fulcrim?,” Asia Maritime Transparency Initiative, https://amti.csis.org/indonesian-sea-policy-accelerating/ (accessed 2 January 2018).

Marsetio .2017. Indonesian Sea Power and Regional Maritime Security Challenges, from

https://ejournal2.undip.ac.id/index.php/jmsni/article/view/1369/1020 (accessed 14 May 2018)

The David Lucile and Packard, “indonesia Marine Strategy 2014 - 2021,” The David Lucile & Packard FOUNDATION, https://www.packard.org/wp-content/uploads/2018/06/Packard-Indonesia-Marine-Strategy-June-2018.pdf (accessed 26 October 2018).

Maritime and Port Authority of Singapore, Singapore Nautilus (Publication: 1-43 issue of marine and port of Singapore), from https://www.mpa.gov.sg/web/portal/home/media-centre/publications/singapore-nautilus สืบค้น (accessed 6 December 2018)

Thomas Menkhoff, Hans‐Dieter Evers (2013, February), Singapore’s Maritime Cluster: The Knowledge Governance of Off Shore Marine Business, from https://www.researchgate.net/profile/Hans-Dieter_Evers/publication/291057453_Development_through_knowledge_A_new_global_knowledge_architecture/links/56c0519808aee5caccf5a425/Development-through-knowledge-A-new-global-knowledge-architecture.pdf (accessed 21 April 2018).

สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา, รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์รายงานวิจัยในลักษณะ Quick Research ประเด็นเร่งด่วนของประชาคมอาเซียน เรื่อง ความมั่นคงทางทะเล, (กรุงเทพฯ: สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (องค์การมหาชน), 2559), 85-87.

ชุมพร ปัจจุสานนท์, โครงการศึกษาข้อตกลงระหว่างประเทศต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982, (กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2560), 44-52.

ประสิทธิ์ ปิวาวัฒนพานิช และ อุกฤษฎ์ มูสิกพันธุ์, โครงการศึกษาสถานภาพและผลกระทบของพันธกรณีระหว่างประเทศต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจสีน้ำเงิน: ศึกษากรณีการพัฒนาการท่องเที่ยวทางทะเลและชายฝั่งอย่างยั่งยืน, (กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2560), 78-84.

สำนักงานเลขาธิการสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ, รายงานของคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ เรื่อง การพัฒนากลไกการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง: การผลักดันร่างพระราชบัญญัติการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล พ.ศ. ...., (กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ, 2559), 28-35.