องค์กรอิสระในระบอบการปกครองที่ไม่เป็นประชาธิปไตย ข้อถกเถียงว่าด้วยแนวคิดในการอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรอิสระกับระบอบการปกครองที่ไม่เป็นประชาธิปไตยของไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีจุดมุ่งหมายในการศึกษา และเปรียบเทียบกรอบแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ระบอบการปกครองที่ไม่เป็นประชาธิปไตยทั้งของไทย และต่างประเทศ จำนวน 5 แนวคิด ได้แก่ 1.) อำมาตยาธิปไตย 2.) รัฐพันลึก 3.) การสร้างความคงทนของระบอบเผด็จการ 4.) ตุลาการธิปไตย และ 5.) แนวคิดเกี่ยวกับหน้าที่หลักของศาล และฝ่ายตุลาการในระบอบเผด็จการ เพื่อนำมาพิจารณาว่า แนวคิดใดสามารถใช้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างระบอบการปกครองที่ไม่เป็นประชาธิปไตยกับองค์กรอิสระของไทย ในแง่ที่องค์กรอิสระกลายเป็นกลไกทำงานขับเคลื่อนระบอบเผด็จการหรือระบอบผสมได้อย่างหมาะสมที่สุด โดยเน้นในช่วงรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 – 2566 เท่านั้น โดยผลการศึกษาพบว่า แนวคิดการสร้างความคงทนของระบอบเผด็จการของ Andreas Schedler มีความเหมาะสมในการวิเคราะห์มากที่สุด เนื่องจากแนวคิดนี้สามารถอธิบายระบอบการปกครองของไทยในช่วงดังกล่าวได้ตรงกับสภาพความเป็นจริงที่สุด และอธิบายถึงองค์ประกอบหลัก 4 ประการในการสร้างความคงทน และความอยู่รอดให้กับระบอบเผด็จการ ที่สามารถนำมาใช้วิเคราะห์วิธีการเข้าควบคุมองค์กรอิสระ เพื่อเปลี่ยนให้เป็นกลไกในการทำงานให้กับระบอบได้อย่างชัดเจน และครอบคลุมในแทบทุกระดับชั้นทางการเมือง
Article Details
References
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และคนอื่น ๆ, สัมมนา "ทหารกับการเมืองในอุษาคเนย์ : ศึกษาเปรียบเทียบในกรณีของไทย พม่า อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์", (กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2550), 31.
บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ, การเมืองไทยร่วมสมัย, (กรุงเทพมหานคร:สถาบันพระปกเกล้า, 2560), 235-237, 246-269.
พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์, เผด็จการวิทยา, (กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มติชน, 2561), 205-206.
วิษณุ วรัญญู, องค์กรของรัฐที่เป็นอิสระ, (กรุงเทพมหานคร : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2538), 7-8.
ศิวพล ชมภูพันธุ์, “การถดถอยของประชาธิปไตยและระบอบการปกครองแบบผสม,” ใน เอกสารการสอนชุดวิชา 83203 ประชาธิปไตยและกระบวนการพัฒนาประชาธิปไตย, (นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562), 37-38.
สติธร ธนานิธิโชติ และคนอื่น ๆ, องค์กรตามรัฐธรรมนูญ: ฐานความรู้และบทเรียนเพื่อการปฏิรูป, (นนทบุรี สถาบันพระปกเกล้า, 2557), 46-47.
Ginsburg, Tom and Moustafa, Tamir, “Introduction: The Functions of Courts in Authoritarian Politics,” in Tom Ginsburg and Tamir Moustafa (ed.), Rule by Law : The Politics of Courts in Authoritarian Regimes, (New York : Cambridge University Press, 2008), 4-10.
Hirschl, Ran, Towards Juristocracy : The Origins and Consequences of the New Constitutionalism, (Cambridge, Massachusetts and London: Harvard University Press, 2004), 211-223.
Levitsky, Steven and Way, Lucan A., Competitive Authoritarianism: Hybrid Regimes After the Cold War, (New York: Cambridge University Press, 2010), 3-7, 82.
Riggs, Fred W., Thailand : The Modernization of a Bureaucratic Polity, (Honolulu: East-West Center Press, 1966), 395-396.
Schedler, Andreas, The New Institutionalism in the Study of Authoritarian Regimes, (Mexico: Centro de Investigación y Docencia Económicas, 2009), 1-16.
นิธิ เอียวศรีวงศ์, “รัฐธรรมนูญฉบับวัฒนธรรมไทย,” ศิลปวัฒนธรรม, ปีที่ 13, ฉบับที่ 1 (2534), 267-283.
พัชราภา ตันตราจิน, “กระบวนการเปลี่ยนผ่านจากระบอบเผด็จการทหารไปสู่ระบอบประชาธิปไตย และกระบวนการเปลี่ยนผ่านจากการเมืองในหมู่ชนชั้นนำไปสู่การเมืองมวลชน:กรณีเปรียบเทียบประเทศสเปนกับประเทศไทย,” วารสารด้านการบริหารรัฐกิจและการเมือง, ปีที่ 5, ฉบับที่ 1 (2559), 79.
อาสา คําภา, “พลวัตสถาบันพระมหากษัตริย์เชิงเครือข่าย: ข้อสังเกตว่าด้วยความเปลี่ยนแปลงของเครือข่ายชนชั้นนําไทย พ.ศ. 2495 - 2535,” วารสารไทยคดีศึกษา, ปีที่ 15, ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561), 44.
Mérieau, Eugénie. “Thailand's Deep State, Royal Power and the Constitutional Court (1997-2015),” Journal of Contemporary Asia Vol. 46, No. 3 (2016), 445-466.
จันจิรา ดิษเจริญ, พรรคพลังประชารัฐและการเมืองของการดึงเข้ามาเป็นพวก, (วิทยานิพนธ์, สาขาวิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565), 161-162.
ไทยรัฐออนไลน์, “กกต.ออกโรง แจง 'สุเทพ' นำรปช.เดินคารวะแผ่นดิน แท้จริงทำได้ไหม?,” ไทยรัฐออนไลน์ (เว็บไซต์), 26 ตุลาคม 2561, https://www.thairath.co.th/news/politic/1404037
ไทยรัฐออนไลน์, “"หญิงหน่อย" โวยรัฐแจงชัดมาตรฐานหาเสียง หลังเพื่อไทยโดนเบรกใช้ที่หลวง,” ไทยรัฐออนไลน์ (เว็บไซต์), 11 มกราคม 2562, https://www.thairath.co.th/news/politic/1467523
นิธิ เอียวศรีวงศ์, “เผด็จการซ่อนรูปที่สั่นคลอน,” มติชนสุดสัปดาห์ (เว็บไซต์), 22 มกราคม 2563, https://www.matichonweekly.com/column/article_267230
นิธิ เอียวศรีวงศ์, “รัฐธรรมนูญฉบับวัฒนธรรมไทย,” มติชนสุดสัปดาห์ (เว็บไซต์), 12 มกราคม 2567, https://www.matichonweekly.com/column/article_555161
นิธิ เอียวศรีวงศ์, “รัฐพันลึกกับร่างรัฐธรรมนูญ,” ประชาไท (เว็บไซต์), 6 เมษายน 2559, https://prachatai.com/journal/2016/04/65105
นิธิ เอียวศรีวงศ์, “รัฐราชการ (1),” มติชนออนไลน์ (เว็บไซต์), 17 กรกฎาคม 2560, https://www.matichon.co.th/columnists/news_604174
นิธิ เอียวศรีวงศ์, “รัฐราชการ (2),” มติชนออนไลน์ (เว็บไซต์), 24 กรกฎาคม 2560, https://www.matichon.co.th/columnists/news_608277
บีบีซีไทย, “เลือกตั้ง 2562 : กกต. ประกาศรับรอง 149 ส.ส. บัญชีรายชื่อ,” BBC NEWS ไทย (เว็บไซต์), 8 พฤษภาคม 2562, https://www.bbc.com/thai/thailand-48197070
บีบีซีไทย, “เลือกตั้ง 2562 : พล.อ. ประยุทธ์ ปรากฏตัวที่เวทีปราศรัยพลังประชารัฐ,” บีบีซีไทย (เว็บไซต์), 22 มีนาคม 2562, https://www.bbc.com/thai/thailand-47666279
บีบีซีไทย, “พลังประชารัฐ : พล.อ.ประวิตรนั่งหัวหน้าพรรคคนใหม่ ทำภารกิจ “สลายมุ้งการเมือง” เป็น “ศูนย์รวมจิตใจ” สมาชิกพรรค,” BBC NEWS ไทย (เว็บไซต์), 27 มิถุนายน 2563, https://www.bbc.com/thai/thailand-53188477
ประชาไท, “สมชาย ปรีชาศิลปกุล : ตุลาการธิปไตย ชนชั้นนำจะใช้ศาล ก็ต่อเมื่อไม่สามารถควบคุมสภาได้,” ประชาไท (เว็บไซต์), 20 มกราคม 2563, https://prachatai.com/journal/2020/01/86014
ยิ่งชีพ อัชฌานนท์, “‘อ่านรัฐธรรมนูญ 2560’ กับ เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง,” The 101.World (เว็บไซต์), 18 กรกฎาคม 2561, https://www.the101.world/one-on-one-khemthong/
วจนา วรรลยางกูร, “เออเชนี เมรีโอ : ประเทศพันลึกภายใต้ ‘ประชาธิปไตยแบบถูกควบคุม’,” The 101.World (เว็บไซต์), 8 มกราคม 2563, https://www.the101.world/eugenie-merieau-interview/
สมชาย ปรีชาศิลปกุล, “ผู้ธำรงอำนาจนำดั้งเดิมและอนาคตใหม่,” The 101.World (เว็บไซต์), 15 มกราคม 2563, https://www.the101.world/hegemonic-preservation/
สมชาย ปรีชาศิลปกุล, “เมื่อองค์กรอิสระกลายเป็นภาระของประชาธิปไตย,” The 101.World (เว็บไซต์), 16 มกราคม 2562, https://www.the101.world/when-constitutional-organizations-become-democracy-burden/
สุรชาติ บำรุงสุข, “เมื่อข้าราชการเป็นนักยุทธศาสตร์ เมื่อยุทธศาสตร์เป็นของรัฐราชการ,” มติชนสุดสัปดาห์ (เว็บไซต์), 20 กันยายน 2561, https://www.matichonweekly.com/column/article_134715
ELECT, “เมื่อ กกต. ขีดเส้นแบ่งเขตเลือกตั้ง: เข้าใจกลไกอำนาจรัฐและประชาชน กับกลวิธีการแบ่งเขตเลือกตั้ง,” ELECT (เว็บไซต์), 8 มิถุนายน 2563, https://elect.in.th/state-with-gerrymandering/
PPTV Online, “มติเอกฉันท์ ป.ป.ช.พร้อมเปิดเผยข้อมูลคดีนาฬิกาหรู "บิ๊กป้อม" 2 รายการ,” PPTV HD 36 (เว็บไซต์), 3 พฤษภาคม 2566, https://www.pptvhd36.com/news/การเมือง/195611
iLAW, “คสช. คืออะไร?,” iLAW (เว็บไซต์), 3 กุมภาพันธ์ 2561, https://ilaw.or.th/node/4735
iLAW, “"คุ้มกันคสช.-จัดการฝ่ายตรงข้าม" ผลงานแห่งปีขององค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญ,” iLAW (เว็บไซต์), 30 ธันวาคม 2563, https://ilaw.or.th/node/5806
iLAW, “เลือกตั้ง 62: 3 เหตุการณ์ที่ กกต. ควรชงเรื่องลงโทษพรรคพลังประชารัฐถูกยุบได้แล้ว,” iLAW (เว็บไซต์), 13 กุมภาพันธ์ 2562, https://ilaw.or.th/node/5151
iLAW, “สี่ปี คสช. ใช้มาตรา44 + สนช. เข้ายึดองค์กรอิสระได้เบ็ดเสร็จตามใจ,” iLAW (เว็บไซต์), 14 พฤษภาคม 2561, https://ilaw.or.th/node/4808
iLAW, “8 ปี คสช. สภาแต่งตั้งเลือกสรรคนไปเป็น “องค์กรตรวจสอบ”,” iLAW (เว็บไซต์), 2 มิถุนายน 2565, https://ilaw.or.th/node/6157
VOICE online, “กกต.แจง 3 พรรคยอดกู้เกิน 10 ล้านไม่ผิด เพราะเป็นหนี้เก่า,” VOICE online (เว็บไซต์), 24 กันยายน 2563, https://voicetv.co.th/read/OEoy_G6Fv
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561, มาตรา 105วรรคสี่.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, มาตรา 219.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, มาตรา 224 (4).
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, มาตรา 225.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, มาตรา 226.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, มาตรา 235.