พาคนกลับ-รับข่าวเสรีไทย การเจรจาแลกเปลี่ยนคณะทูตและพลเรือนระหว่างไทย สหรัฐอเมริกา และ อังกฤษ พ.ศ. 2485

Main Article Content

พีระ เจริญวัฒนนุกูล
พชร ล้วนวิจิตร

บทคัดย่อ

แม้ว่าการศึกษาเรื่องไทยกับสงครามโลกครั้งที่สองจะได้รับการค้นคว้ามากมายไม่ว่าจะเป็นในมิติด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม และนโยบายต่างประเทศ แต่งานทั้งหลายเหล่านี้แทบไม่ได้พิจารณาประเด็นสำคัญอย่างเช่น การแลกเปลี่ยนคณะทูตและพลเรือนระหว่างไทย สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และญี่ปุ่นภายหลังจากที่ไทยเข้าร่วมในสงครามมหาเอเชียบูรพาอย่างเป็นทางการ บทความวิจัยฉบับนี้ศึกษาการเจรจาแลกเปลี่ยนคณะทูตและพลเรือนระหว่างไทยกับประเทศคู่สงคราม และได้พิจารณาว่าเมื่อรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามสามารถพาคนไทยกลับมาแล้วได้อาศัยประโยชน์จากคนที่เดินทางกลับมาสืบข่าวกรองอย่างไร บทความวิจัยค้นพบว่า ในส่วนของการเจรจานั้น รัฐบาลไทยไม่ได้มีปัญหากับรัฐบาลสหรัฐอเมริกาแต่อย่างใด ซึ่งตรงกันข้ามกับการเจรจากับรัฐบาลอังกฤษที่เกิดจากปัญหาด้านการเงินและส่งผลให้เกิดความล่าช้าในการเคลื่อนย้ายคน นอกเหนือจากนี้ บทความวิจัยยังค้นพบว่า รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามอาศัยปากคำบอกเล่าของคณะทูตและนักเรียนที่เดินทางกลับมาเพื่อสอบถามเกี่ยวกับคณะไทยอิสระ (เสรีไทยดังที่รู้จักกันในภายหลัง) ที่ประกอบไปด้วยคนที่ไม่ยอมเดินทางกลับ อาทิ ข้าราชการสถานทูต เจ้านาย และนักเรียนไทยในต่างแดน

Article Details

บท
Articles

References

แถมสุข นุ่มนนท์, เมืองไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง, (กรุงเทพมหานครฯ: โรงพิมพ์เรือนแก้ว, 2521).

Kobkua Suwannathat-Pian, Thailand’s Durable Premier: Phibun Through Three Decades, 1932-1957, (Kuala Lumpur: Oxford University Press).

Charivat Santaputra, Thai Foreign Policy 1932-1946, (Bangkok: International Studies Center, Ministry of Foreign Affairs, 2020).

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, “ลัทธิชาตินิยม-ลัทธิทหาร: รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม 2481-2487” ใน ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ และวิกัลย์ พงศ์พนิตานนท์ (บก.), จอมพล ป. พิบูลสงครามกับการเมืองไทยสมัยใหม่, (กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2540), 351-408.

สุเมธ สุขิตานนท์, นโยบายต่างประเทศของไทยสมัยรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม, (ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2523).

ดรุณี บุญภิบาล, บทบาทของไทยในสงครามโลกครั้งที่สอง, (ปริญญนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2520).

John B. Haseman, Thai Resistance Movement, (Bangkok :Chalermnit Press, 1980).

อัญชลี สุขดี, ขบวนการต่อต้านญี่ปุ่นของไทยในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2484-2488), (วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525).

วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร, ตำนานเสรีไทย, (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แสงดาว, 2544).

จอมพล ป. พิบูลสงคราม, “การร่วมมือและต่อต้านญี่ปุ่นสมัยสงคราม”, ใน สมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทย (บก.), เบื้องแรกประชาธิปไตย: บันทึกความทรงจำของผู้อยู่ในเหตุการณ์ พ.ศ. 2475-2500, (พระนคร: มิตรนราการพิมพ์, 2516), 426-477.; ดิเรก ชัยนาม, ไทยกับสงครามโลกครั้งที่สอง, (พระนคร: แพร่พิทยา, 2510).

ปรีดี พนมยงค์, คำปราศรัย สุนทรพจน์บางเรื่องของนายปรีดี พนมยงค์ และบางเรื่องเกี่ยวกับขบวนการเสรีไทย, (กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล, 2517).

ปรีดี พนมยงค์, จดหมายของนายปรีดี พนมยงค์ ถึงพระพิศาลสุขุมวิท เรื่องหนังสือจดหมายเหตุของเสรีไทยเกี่ยวกับปฏิบัติการในแคนดี นิวเดลฮี และสหรัฐอเมริกา, (กรุงเทพฯ: อมรินทร์การพิมพ์, 2522).

ปรีดี พนมยงค์, “การก่อตั้งขบวนการต่อต้านญี่ปุ่นและเสรีไทย” ใน อนุสรณ์ปราโมทย์ พุ่งสุนทร นักอภิวัฒน์, เสรีไทย, นายสนามมวยเวทีราชดำเนินคนแรก, (กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2525).

ทวี บุณยเกตุ, “ข้อเท็จจริงเพิ่มเติมเกี่ยวกับเหตุการณ์ในประเทศไทยระหว่างสงคราม”, ใน สมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทย (บก.), เบื้องแรกประชาธิปไตย: บันทึกความทรงจำของผู้อยู่ในเหตุการณ์ พ.ศ. 2475-2500, (พระนคร: มิตรนราการพิมพ์, 2516), 300-390.

ทวี จุลละทรัพย์, ชาติเหนือสิ่งอื่นใด, (กรุงเทพฯ: วรวุฒิการพิมพ์, 2517),

เนตร เขมะโยธิน, งานใต้ดินของพันเอกโยธี, (พระนคร: โรงพิมพ์เฟื่องอักษร, 2510).

ป๋วย อึ๊งภากรณ์, “พระบรมวงศานุวงศ์กับขบวนการเสรีไทย”, ใน ปราโมทย์ พึ่งสุนทร และ เปรื่อง ศิริภัทร์ (บก.), บางเรื่องเกี่ยวกับพระบรมวงศานุวงศ์ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2, (นครหลวงกรุงเทพธนบุรี: โรงพิมพ์นิติเวชช์, 2516), 32-37.

มาลัย ชูพินิจ, X.O. Group: เรื่องภายในของขบวนการเสรีไทย, (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เชษฐบุรษ, 2522).; สวัสดิ์ ตราชู, “ลับสุดยอด,” เมื่อข้าพเจ้าเป็นเสรีไทยกับขุนพลภูพาน เตียงศิริขันธ์, (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์พิฆเณศ, 2527).

E. Bruce Reynolds, Thailand’s Secret War: The Free Thai, OSS, and SOE during World War II, (Cambridge: Cambridge University Press, 2004).

Nobchulee Maleenont, ""No God-Damned Thailander Can Be Trusted to Do a Job Without Getting Political Minded": The Free Thai Movement and the Politics of Independence During World War II,” Voces Novae, Vol. 2, Article 12.Available at: https://digitalcommons.chapman.edu/vocesnovae/vol2/iss1/12.; Sorasak Ngamcachonkulkid, Free Thai: The New History of the Seri Thai Movement, (Institute of Asian Studies, Chulalongkorn University, 2010).

สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ, ตำนานบทใหม่ของขบวนการเสรีไทย, (กรุงเทพมหานครฯ: สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557).

ศรศักร ชูสวัสดิ์, “รัฐบาลจอมพล ป. ไล่ข้าราชการสถานทูตที่เป็นเสรีไทยออกจากราชการ,” ศิลปวัฒนธรรม, ปีที่ 29, ฉบับที่ 3 (2551), 102-115.

ศรศักร ชูสวัสดิ์, “การเดินทางจากสหรัฐอเมริกากลับไทยของลูกจอมพล ป. พิบูลสงคราม และความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสหรัฐอเมริกาในต้นปี พ.ศ. 2485,” วารสารศิลปะศาสตร์, ปีที่ 9, ฉบับที่ 1 (2552), 84-113.

Hidemi Suganami, “Narrative Explanation and International Relations: Back to Basics,” Millennium: Journal of International Studies, Vol. 34, No. 2 (2008), 327-356.

Jack S. Levy, “Case Studies: Types, Designs, and Logics of Inference,” Conflict Management and Peace Science, 25 (2008), 1-18.

สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ (จากนี้ย่อเป็น “หจช.”), บก.สส. 1.16/78, กรมตำหรวดส่งคำให้การนักเรียนไทยที่กลับจากอเมริกา (9-26 ก.ย. 2485), 95.

หลวงวิจิตรวาทการ, “หลังฉากประกาศสงคราม,” ใน อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ นายเอื้อน กำปั่นทอง จ.ช., ต.ม. ณ เมรุวัดธาตุทอง กรุงเทพมหานคร วันจันทร์ ที่ 21 ตุลาคม 2528, (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ศรีอนันต์, 2528), 29.

The National Archives, UK (จากนี้ย่อเป็น “TNA”), FO371/28164, F13522/13622/40, “Hostilities in Thailand,” 9 December 1941.

TNA, FO371/28164, F13658/13522/40, “Relations between United Kingdom and Thailand as Result of War with Japan,” 10 December 1941.

TNA., FO371/28164, F14008/13522/40, “Protection of British Legation to Bangkok,” 19 December 1941.

หจช., (2) กต 8.2.9/1, การเจรจาแลกเปลี่ยนบุคคลในคณะทูต และกงสุลระหว่างไทยกับอังกฤษ (16 ธ.ค. 2484 - 22 ธ.ค, 2485), 164-165.

หจช., (2) กต. 8.1.1.1/5 เรื่องทั่วไปกรมการเมืองตะวันตกเช่น สถานกงสุลสวิตเซอร์แลนด์ขอบัญชีรายนามชนศัตรูที่พิทักษ์อยู่นอกค่ายพิทักษ์จัดการแก่คนต่างด้าวบางกรณี ฯลฯ., 43-44.

TNA, FO371/28164, F14143/13522/40, “Thai-Japanese Alliance,” 21 December 1941.

Foreign Relations of the United States: Diplomatic Papers, 1942, General; the British Commonwealth; the Far East, Volume I, eds. G. Bernard Noble and E.R. Perkins (Washington: United States Government Printing Office, 1960), Document 809.

Foreign Relations of the United States: Diplomatic Papers, 1942, General; the British Commonwealth; the Far East, Volume I, eds. G. Bernard Noble and E.R. Perkins (Washington: United States Government Printing Office, 1960), Document 812.

TNA., FO371/28164, F14143/13522/40, “Thai-Japanese Alliance,” 21 December 1941.

TNA., FO371/28164, F13954/13522/40, “Anglo Thai Relations: Prince Chula’s Report of Thai Prime Minister’s Speech,” 19 December 1941.

TNA., FO371/31864, F7576/2317/40, “Report on the Occupation of Siam and the Political and economic conditions,” 7 November 1942.

หจช., (2) กต 8.2.9/1, การเจรจาแลกเปลี่ยนบุคคลในคณะทูต และกงสุลระหว่างไทยกับอังกฤษ (16 ธ.ค. 2484 - 22 ธ.ค. 2485), 143-146.

หจช., (2) กต 8.1.1/3, การแลกเปลี่ยนคณะทูตและกงสุลของเยอรมนีและอิตาเลียนกับของสหรัฐอเมริกา (3-13 มค 2485), 24-25.

หจช., (2) กต 8.1.1//4, บัญชีรายชื่อการเเลกเปลี่ยนคนะทูตคณะกงสุลเเละคนชาติ (7 ม.ค. 2485 - 5 ก.ค. 2487), 8.

หจช., (2) กต 8.2.9/5, บันทึกการประชุมระหว่างผู้แทนฝ่ายไทย, ผู้แทนฝ่ายญี่ปุ่น และผู้แทนฝ่ายสวิสส์ ณ กระทรวงการต่างประเทศ (13-16 ม.ค. 2485), 7.

TNA., FO371/31856, F1127/306/40, “Declaration of War on Thailand,” 30 January 1942.

Foreign Relations of the United States: Diplomatic Papers, 1942, General; the British Commonwealth; the Far East, Volume I, eds. G. Bernard Noble and E.R. Perkins (Washington: United States Government Printing Office, 1960), Document 807.

หจช., บก.สส. 1.16/78, กรมตำหรวดส่งคำให้การนักเรียนไทยที่กลับจากอเมริกา (9-26 ก.ย. 2485), 90-94. ส่วนที่อ้างนี้เป็นคำให้การของนายปลื้ม ปุนสรี นักเรียนที่เดินทางกลับจากสหรัฐอเมริกา

TNA., FO371/31859, F2526/978/40, “Treatment of Siamese Nationals in the United Kingdom,” 26 March 1942.

หจช., (2) กต 8.1.1/4, บัญชีรายชื่อการแลกเปลี่ยนคณะทูต คณะกงสุลและคนชาติ (7 ม.ค. 2485 – 5 ก.ค. 2487), 26.

หจช., (2) กต 8.2.9/9, สถานกงสุลสวิตเซอร์แลนด์ที่กรุงโตกิโอ ขออนุญาติไปเยี่ยมอัครราชทูตอเมริกัน (20 ก.พ.- 8 พ.ค. 2485), 2

Foreign Relations of the United States: Diplomatic Papers, 1942, General; the British Commonwealth; the Far East, Volume I, eds. G. Bernard Noble and E.R. Perkins (Washington: United States Government Printing Office, 1960), Document 816.

Foreign Relations of the United States: Diplomatic Papers, 1942, General; the British Commonwealth; the Far East, Volume I, eds. G. Bernard Noble and E.R. Perkins (Washington: United States Government Printing Office, 1960), Document 809.

หจช., WW 2/1: 16/1, ข้อเสนอของรัฐบาลอเมริกันในการแลกเปลี่ยนคณะทูตและกงสุล [Microfilm: AL017].

หจช., (2) กต 8.1.1/15, การเจรจาแลกเปลี่ยนบุคคลในคณะทูตและคณะกงสุลระหว่างประเทศไทยกับประเทศบริเตนใหญ่และสหรัฐอเมริกา (ตอนเจรจากับญี่ปุ่นเพื่อขออาศัยเรือ) (4 ก.พ. - 10 มี.ค. 2485), 21. เอกสารต้นฉบับภาษาอังกฤษระบุว่า “…The matter is now under negotiation with Japanese Government because the exchange of nationals can be made only if Japanese Government allow the nationals concerned to travel by Japanese ship which will convey the persons to be exchanged.”

สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี (สลค.), รายงานการประชุมคณะรัฐมนตรี ครั้งที่ 16/2485 วันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2485, 29-30.

ดูรายการของการจัดแบ่งดังกล่าวได้จาก (2) กต 8.1.1/4, บัญชีรายชื่อการเเลกเปลี่ยนคนะทูตคณะกงสุลเเละคนชาติ (7 ม.ค. 2485 - 5 ก.ค. 2487), 33.

หจช., (2) กต 8.2.9/1, การเจรจาแลกเปลี่ยนบุคคลในคณะทูต และกงสุลระหว่างไทยกับอังกฤษ (16 ธ.ค. 2484 - 22 ธ.ค. 2485), 621-622.

หจช., (2) กต 8.2.9/7, ส่งหนังสือถึงทูตอเมริกัน (27 ม.ค. – 26 มี.ค. 2485), 56-58.

หจช, (2) กต 8.2.9/10, การเจรจาแลกเปลี่ยนคณะทูตและคนชาติ และส่งนักเรียนไทยในอเมริกาและแคนาดากลับคืนประเทศไทย (13 มี.ค. – 5 พ.ค. 2485) 32-33.

หจช., (2) กต 8.2.9/10, การเจรจาแลกเปลี่ยนคณะทูตและคนชาติ และส่งนักเรียนไทยในอเมริกาและแคนาดากลับคืนประเทศไทย (13 มี.ค. – 5 พ.ค. 2485), 152-253.

หจช., (2) กต 8.2.9/1, การเจรจาแลกเปลี่ยนบุคคลในคณะทูต และกงสุลระหว่างไทยกับอังกฤษ (16 ธ.ค. 2484 - 22 ธ.ค. 2485), 133-136.

หจช., WW 2/2: 13/20, รัฐบาลอังกฤษยินยอมให้ความสะดวกเเก่คนไทยในเขตอังกฤษ ถ้าคนอังกฤษได้รับความสะดวกออกให้จากไทย [microfilm AL 016/0018].

หจช., (2) กต 8.2.9/1, การเจรจาแลกเปลี่ยนบุคคลในคณะทูต และกงสุลระหว่างไทยกับอังกฤษ (16 ธ.ค. 2484 - 22 ธ.ค. 2485), 56-57.

Foreign Relations of the United States: Diplomatic Papers, 1942, General; the British Commonwealth; the Far East, Volume I, eds. G. Bernard Noble and E.R. Perkins (Washington: United States Government Printing Office, 1960), Document 348.

Paul Scott Corbett, Quiet Passages: The Exchange of Civilians between the United States and Japan During World War II, (PhD Thesis, University of Kansas, 1983), 99-105.

Foreign Relations of the United States: Diplomatic Papers, 1942, General; the British Commonwealth; the Far East, Volume I, eds. G. Bernard Noble and E.R. Perkins (Washington: United States Government Printing Office, 1960), Document 354.

หจช., (2) กต 8.1.1/22, การจัดส่งคณะทูตและกงสุลรวมทั้งคณะชาติศัตรูออกจากประเทศไทย (16 มี.ค. - 7 ต.ค. 2485), 1-3.

หจช., (2) กต 8.2.9/1, การเจรจาแลกเปลี่ยนบุคคลในคณะทูต และกงสุลระหว่างไทยกับอังกฤษ (16 ธ.ค. 2484 - 22 ธ.ค. 2485), 570-572.

หจช., (2) กต 8.1.1/22, การจัดส่งคณะทูตและกงสุลรวมทั้งคณะชาติศัตรูออกจากประเทศไทย (16 มี.ค. - 7 ต.ค. 2485), 30.

หจช., (2) กต 1.1.3/2, โทรเลขโต้ตอบระหว่างการรับรองการต่างประเทศกับสถานเอกอัครราชทูตประเทศต่างๆ ปี พ.ศ. 2485 (1 พ.ค. - 4 มิ.ย. 2485), 75.

Foreign Relations of the United States: Diplomatic Papers, 1942, General; the British Commonwealth; the Far East, Volume I, eds. G. Bernard Noble and E.R. Perkins (Washington: United States Government Printing Office, 1960), Document 373.

ภูริ ฟูวงศ์เจริญ, ศรัญญู เทพสงเคราะห์, ณัฐพล ใจจริง, อยากลืมกลับจำ, (กรุงเทพฯ: มติชน, 2561), 100.

หนังสือ กระทรวงการต่างประเทศที่ น.8632/2485 วันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2485 ดู หจช., WW.2/1:16/4, รายงานการเเลกเปลี่ยนคณะทูตคณะกงสุลและคนชาติ [Microfilm: AL 017/0010]

กรมโคสนาการ, ข่าวโคสนาการ ปีที่ 5 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2485, (พระนคร: กรมโคสนาการ, 2485), 1170.

หจช., (2) กต 8.2.9/13, กงสุลสวิสขออนุญาติส่งผู้แทนไปพบปะกับอัครราชทูตอังกฤษ เพื่อปรึกษาหารือเกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนคณะทูตและคณะกงสุลกับคนชาติอังกฤษ (14 พ.ค.- 8 ส.ค. 2485), 17.

หจช., (2) กต 8.2.9/1, การเจรจาแลกเปลี่ยนบุคคลในคณะทูต และกงสุลระหว่างไทยกับอังกฤษ (16 ธ.ค. 2484 - 22 ธ.ค. 2485), 275-276.

หจช., (2) กต 8.1.1/22, การจัดส่งคณะทูตและกงสุลรวมทั้งคณะชาติศัตรูออกจากประเทศไทย (16 มี.ค. - 7 ต.ค. 2485), 446.

หจช., (2) กต 8.1.1/28, หนังสือพิมพ์ตัดเกี่ยวกับเรื่องการแลกเปลี่ยนคณะทูตและคนชาติระหว่างญี่ปุ่นกับสหรัฐอเมริกา (15 พ.ค. – 6 ส.ค. 2485), 9.

หจช., (2) กต 8.2.9/16, การเจรจาแลกเปลี่ยนคณะทูต คณะกงสุล และคนชาติกับอังกฤษครั้งแรก (23 ก.ค. 2485 – 9 ก.พ. 2486), 194.

ศรศักร, “รัฐบาลจอมพล ป. ไล่ข้าราชการสถานทูตที่เป็นเสรีไทยออกจากราชการ”, 107. ดู ประดาป พิบูลสงคราม, ดวงพ่อ: ลูกการเมือง ทายาทจอมพล ป. พิบูลสงคราม หนังสืออนุสรณ์พระราชทานเพลิง พล.ร.ท. ประสงค์ พิบูลสงคราม วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร (บางเขน) (5 กุมภาพันธ์ 2546), 61-63.

หจช., (2) กต 8.2.9/16, การเจรจาแลกเปลี่ยนคณะทูต คณะกงสุล และคนชาติกับอังกฤษครั้งแรก (23 ก.ค. 2485-9 ก.พ. 2486), 62.

หจช., WW.2/1:16/7, การจัดส่งคณะทูตคณะกงสุลและคนชาติศัตรูออกจากประเทศไทย. [Microfilm: AL017/0013]

หนังสือพิมพ์ข่าวตัดในวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2485 ลงข่าวว่า “Details Regarding Free Thai in America Revealed” ดู หจช., (2) กต 8.1.1/28, หนังสือพิมพ์ตัดเกี่ยวกับเรื่องการแลกเปลี่ยนคณะทูตและคนชาติระหว่างญี่ปุ่นกับสหรัฐอเมริกา (15 พ.ค. – 6 ส.ค. 2485)

หจช., สร. 0201.98/26, เรื่องการแลกเปลี่ยนคนะทูต กงสุล และคนชาติระหว่างประเทสไทยกับบริเตนไหย่ และสหรัถอเมริกา (20 มี .ค. 2 485-9 ส.ค. 2489). หจช., WW.2/1:16/4, รายงานการแลกเปลี่ยนคณะทูตคณะกงสุลและคนชาติ. [Microfilm: AL017/0010]

หจช., บก.สส. 1.16/78, กรมตำรวจส่งคำให้การนักเรียนไทยที่กลับจากอเมริกา (คำให้การบางฉบับมีเรื่องการจัดตั้งเสรีไทย ในสรัฐอเมริกา) (9-26 ก.ย. 2485), 2.

หจช., กต. 43.8/171, นายอนันต์ ขีตตะสังขะ นางสาวจีรวะสส์ ขีตตะสังขะ (พ.ศ. 2483-2485), ไม่มีเลขหน้า, จากข้อความต้นฉบับภาษาอังกฤษ “Chiravassa herself prefer to continue study there.”

ที่ระลึกงานพระราชทานเพลิงศพ พลโท หม่อมหลวงขาบ กุญชร ม.ว.ม, ป.ช. ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันพฤหัสบดี ที่ 29 มกราคม พุทธศักราช 2530. (ม.ป.ท.): อินเตอร์ฮ่องกงพริ้นติ้ง, 2530, หจช., (2) สร 0201.86/7, ผู้ช่วยทูตทหาร ประจำกรุงลอนดอน ปารีส เบอร์ลิน โรม และเบลเยี่ยม (12 ก.ค. 2478-13 ส.ค. 2486), มีเอกสารประกาศกระทรวงกลาโหม เรื่องตั้งผู้ช่วยทูตทหาร ได้มีการระบุถึง พ.ท.ม.ล. ขาบ กุญชร เป็นทูตฝ่ายทหารประจำประเทศสหปาลีรัฐอเมริกา โดยดำรงตำแหน่งดังกล่าวตั้งแต่วันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2484.

หจช., บก.สส. 1.16/78, กรมตำรวจส่งคำให้การนักเรียนไทยที่กลับจากอเมริกา (คำให้การบางฉบับมีเรื่องการจัดตั้งเสรีไทย ในสรัฐอเมริกา) (9-26 ก.ย. 2485), 11-12.

ไม่ระบุนาม, “ประวัติสังเขป,” ใน อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พลโทกาจ กาจสงคราม (เทียน เก่งระดมยิง) ปช.,ปม., (พระนครฯ: โรงพิมพ์กรมทหารสื่อสาร บางซื่อ, 2510), ไม่ปรากฏเลขหน้า.

หจช., (2) กต. 8.2.9/18, การเจรจากับเอกอัครราชทูตญี่ปุ่น เกี่ยวกับการจัดส่งคนอเมริกันในประเทศไทยกลับประเทศเดิม ครั้งที่ 2 (21 ส.ค.-7 พ.ย. 2485), 50-51.

หจช., บก.สส. 1.16/78, กรมตำรวจส่งคำให้การนักเรียนไทยที่กลับจากอเมริกา (คำให้การบางฉบับมีเรื่องการจัดตั้งเสรีไทย ในสรัฐอเมริกา) (9-26 ก.ย. 2485), 40.

หจช., WW.2/2: 23/2, คำให้การของข้าราชการที่กลับจากอังกฤษ. [Microfilm: AL029/0022]

หจช., (2) กต 8.2.9/16, การเจรจาแลกเปลี่ยนคณะทูต คณะกงสุล และคนชาติกับอังกฤษครั้งแรก (23 ก.ค. 2485-9 ก.พ. 2486)

หจช., WW.2/2: 23/2, คำให้การของข้าราชการที่กลับจากอังกฤษ. [Microfilm: AL029/0024.

หจช., คำให้การของข้าราชการที่กลับจากอังกฤษ. [Microfilm: AL029/0024].

หจช., (2) กต 8.2.9/14, การเจรจาตกลงรัฐบาลไทยในการแลกเปลี่ยนคนไทยที่อยู่ในอเมริกากับชาวอเมริกาในไทย เพื่อให้คนไทยกลับมาเมืองไทย (30 พ.ค. – 5 ต.ค. 2485), 187.

หจช., (2) กต 8.2.9/16, , การเจรจาแลกเปลี่ยนคณะทูต คณะกงสุล และคนชาติกับอังกฤษครั้งแรก (23 ก.ค. 2485-9 ก.พ. 2486), 153.

หจช., (2) กต 8.1.1/8, การส่งคนไทยในกรุงลอนดอนกลับประเทศไทย (14 ม.ค. – 21 ต.ค. 2485), 10-11.

สลค., รายงานการประชุมคณะรัฐมนตรี ครั้งที่ 1/2488 วันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2488, 5-6.

หจช., (2) สร 0201.25/39, ข้าราชการและนักเรียนต่างประเทศไม่กลับประเทศไทย (ในการแลกชะเลย) (30 พ.ย.2485-8 ม.ค.2489), 18.

หจช., (2) กต 1.1.3/2, โทรเลขโต้ตอบระหว่างการรับรองการต่างประเทศกับสถานเอกอัครราชทูตประเทศต่างๆ ปี พ.ศ. 2485 (1 พ.ค. - 4 มิ.ย. 2485), 125.

หจช., (2) กต 8.1.1/8, การส่งคนไทยในกรุงลอนดอนกลับประเทศไทย (14 ม.ค. – 21 ต.ค. 2485), 17.

พระราชบัญญัติว่าด้วยชนสัตรูและทรัพย์สินของชนสัตรู (ฉะบับที่ 3) พ.ส. 2485, 13 ตุลาคม 2485, ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 59 ตอนที่ 66, 13 ตุลาคม 2485, 1818

หจช., WW 2/3:12/4, ชะเลยศึกกรณีพิเศษ 2487 [Microfilm: AL034].

กต 8.1.1/8, การส่งคนไทยในกรุงลอนดอนกลับประเทศไทย (14 ม.ค. – 21 ต.ค. 2485), 4.

หจช., (2) กต 8.2.9/20, รายชื่อของบุคคลผู้เกี่ยวข้องกับการแลกเปลี่ยนชนชาติระหว่างญี่ปุ่นกับบริติช ครั้งที่ 2 ( 7 ก.พ. 2486- 16 ก.พ. 2488), 50.

หจช., WW. 2/1: 13/36, การแลกเปลี่ยนคนไทยและอังกฤษ.[Microfilm: AL016 ไม่ปรากฏให้ค้นคว้าในรูปแบบไมโครฟิล์ม]