เพลงพื้นบ้านในกวีนิพนธ์ไทยสมัยใหม่: การสืบสรรค์และแนวคิดของกวี

Main Article Content

เฉลิมพงษ์ หลักคำ
นิตยา แก้วคัลณา

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาการสืบสรรค์เพลงพื้นบ้านในกวีนิพนธ์ไทยสมัยใหม่ และศึกษาแนวคิดที่ปรากฏในกวีนิพนธ์เหล่านั้น โดยใช้ข้อมูลจากกวีนิพนธ์ไทยนับตั้งแต่ผลงานของครูเทพ (พ.ศ. 2456) จนถึงปัจจุบัน (พ.ศ. 2559) ผลการศึกษาพบว่า กวีนำเพลงพื้นบ้านมาใช้ในการสร้างงานกวีนิพนธ์โดยใช้ฉันทลักษณ์ ได้แก่ ฉันทลักษณ์ตามแบบแผน ฉันทลักษณ์ท้องถิ่น และฉันทลักษณ์ระคน ซึ่งพบทั้งการสืบทอดขนบของฉันทลักษณ์เดิม การปรับแปลงฉันทลักษณ์เดิมให้มีลักษณะใหม่ และการนำลักษณะหรือข้อบังคับของฉันทลักษณ์ต่างชนิดมาปรับใช้ร่วมกัน การสืบสรรค์เนื้อหาของเพลงพื้นบ้านในกวีนิพนธ์ไทยสมัยใหม่มีวิธีการต่าง ๆ เพื่อเสนอแนวคิดใหม่ ได้แก่ การพาดพิง การดัดแปลง และการล้อเลียน กวีนิพนธ์เหล่านั้นนำเสนอแนวคิดที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม เช่น แนวคิดเกี่ยวกับชีวิต แนวคิดเกี่ยวกับธรรมชาติ แนวคิดเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรม และแนวคิดเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง

Article Details

How to Cite
หลักคำ เ., & แก้วคัลณา น. (2019). เพลงพื้นบ้านในกวีนิพนธ์ไทยสมัยใหม่: การสืบสรรค์และแนวคิดของกวี. วรรณวิทัศน์, 19(1), 34–80. https://doi.org/10.14456/vannavidas.2019.2
บท
บทความประจำฉบับ

References

กอบกาญจน์ ภิญโญมารค. (2544). ธรรมชาติในกวีนิพนธ์ไทยร่วมสมัย. กรุงเทพมหานคร: อินทนิล.

กาญจนา อินทรสุนานนท์. (2547) สารานุกรมดนตรีและเพลงไทย. กรุงเทพมหานคร: พ.ศ.พัฒนา.

กีรติ ธนะไชย. (2547). ฉันทลักษณ์ในกวีนิพนธ์ไทยสมัยใหม่: การสืบทอด การสร้างสรรค์ และความสัมพันธ์กับสุนทรียภาพทางวรรณศิลป์. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กีรติ ธนะไชย. (2551). บุหงาหอมร่วงฟ้าในป่าแก้ว: ฉันทลักษณ์จาก “วรรณคดี” ถึง “กวีนิพนธ์ไทย สมัยใหม่”. โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กีรติ ธนะไชย. (2554). พัฒนาการของกลบทในวรรณคดีไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เก๋ แดงสกุล. (2556). กวีนิพนธ์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี: แนวคิด และกลวิธีการสร้างวรรณศิลป์. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

คำยวง วราสิทธิชัย, หม่อมหลวง. (พฤศจิกายน 2559). การแต่งกาพย์ยานี 11 ตามทัศนะของนายผี. วรรณวิทัศน์: 16, 47 – 75.

เจียรนัย ศิริสวัสดิ์. (2530). การศึกษารูปแบบและแนวคิดของร้อยกรองรูปแบบใหม่. คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ชลธิรา สัตยาวัฒนา. (บรรณาธิการ). (2558) ‘ครูเทพ’ (เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี). กรุงเทพมหานคร: สยามบรรณการพิมพ์.

โชษิตา มณีใส. (2557). วรรณกรรมร้อยกรองของไทย. ภาควิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ณัฐธิดา ศิริชัยยงบุญ และนิตยา แก้วคัลณา. (พฤศจิกายน 2559). ความเป็นเมืองในกวีนิพนธ์ไทยร่วมสมัย. วรรณวิทัศน์, 16: 24 – 46.

ดวงมน จิตร์จำนงค์. (มกราคม-เมษายน 2543). แนวคิดสำคัญของกวีนิพนธ์ไทยในยุคโลกาภิวัตน์. วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์: 6, 1-13.

ตรีศิลป์ บุญขจร. (2555). เพลงพื้นบ้านกับร้อยกรองสมัยใหม่. ใน ตรีศิลป์ บุญขจร บรรณาธิการ). สายธารตรีศิลป์นิพนธ์. (147 – 166). กรุงเทพมหานคร: สร้างสรรค์บุ๊คส์.

ทองแถม นาถจำนง. (2559). คำฉันท์: วรรณลีลา มรดกชาติ. กรุงเทพมหานคร: ชนนิยม.

ธเนศ เวศร์ภาดา. (2546). งามคำหวานลานใจถวิล. ม.ป.ท.

นพวรรณ งามรุ่งโรจน์ และนิตยา แก้วคัลณา. (พฤศจิกายน 2560). บทคร่ำครวญในกวีนิพนธ์ไทยสมัยใหม่, วรรณวิทัศน์. 17: 386 - 415.

นิตยา แก้วคัลณา. (2551). การสืบสรรค์จินตภาพในกวีนิพนธ์ไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

นิตยา แก้วคัลณา. (2556). สืบสรรค์ขนบวรรณศิลป์: การสร้างสุนทรียภาพในกวีนิพนธ์ไทย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

นิตยา แก้วคัลณา. (เมษายน – กันยายน 2556). วิถีของธรรมชาติกับสังคมเทคโนโลยีในกวีนิพนธ์ไทยสมัยใหม่. วารสารไทยคดีศึกษา, 10: 109 – 150.

นิตยา แก้วคัลณา. (พฤศจิกายน 2559). สำนึกทางสังคมในกวีนิพนธ์ไทยในกระแสโลกสมัยใหม่. วรรณวิทัศน์, 16: 1 – 23.

ในดวงตา ปทุมสูติ. (2553). วรรณศิลป์ที่ได้รับอิทธิพลจากเพลงพื้นบ้านภาคกลางและภาพสะท้อนวัฒนธรรมพื้นบ้านในกวีนิพนธ์ของศิวกานท์ ปทุมสูติ. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2539). บทกลอนกล่อมเด็กและบทปลอบเด็ก. (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2550). พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมไทย ภาคฉันทลักษณ์. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2552). พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน.

รื่นฤทัย สัจจพันธุ์. (2544). ศาสตร์และศิลป์แห่งวรรณคดี. กรุงเทพมหานคร: ประพันธ์สาส์น.

วรรณคดีสมัยกรุงศรีอยุธยา เรื่องนางมโนห์รา เรื่องสังข์ทอง จินดามณี. (2526). กรุงเทพมหานคร: บรรณกิจ.

สรณัฐ ไตรลังคะ และนัทธนัย ประสานนาม. (บรรณาธิการ). (2557). จะเก็บเกี่ยวข้าวงามในทุ่งใหม่: ประวัติวรรณกรรมไทยร่วมสมัยในมุมมองร่วมสมัย. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาวรรณคดี และ คณะกรรมการฝ่ายวิจัย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม.

สายวรุณ น้อยนิมิตร. (มกราคม – เมษายน 2539). เจ้าขุนทอง: การแปรนัยยะในวรรณกรรมสมัยใหม่. วารสารธรรมศาสตร์. 2: 96 – 107.

สุกัญญา สุจฉายา. (2543). เพลงพื้นบ้านศึกษา. โครงการตำรา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุกัญญา สุจฉายา. (2556). วรรณกรรมมุขปาฐะ. โครงการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2532). ร้องรำทำเพลง: ดนตรีและนาฏศิลป์ของชาวสยาม. กรุงเทพมหานคร: มติชน.

สุจิตรา จงสถิตย์วัฒนา. (2541). หวังสร้างศิลป์นฤมิต เพริศแพร้ว: การสืบทอดขนบกับการสร้างสรรค์ วรรณศิลป์ในกวีนิพนธ์ไทยสมัยใหม่. โครงการตำราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุจิตรา จงสถิตย์วัฒนา. (2543). พุทธธรรมในกวีนิพนธ์ไทยสมัยใหม่. ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุจิตรา จงสถิตย์วัฒนา. (2548). เจิมจันทน์กังสดาล: ภาษาวรรณศิลป์ในวรรณคดีไทย. กรุงเทพมหานคร: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุจิรา คุปตารักษ์. วิเคราะห์ร้อยกรองของนายผี. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อวยพร มิลินทางกูร. (2519). ลักษณะคำประพันธ์ร้อยกรองของไทย ตั้งแต่ พ.ศ.2475 – 2501. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต แผนกวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.