อุดมการณ์เชิงธุรกิจในวาทกรรมเกี่ยวกับบุญในหนังสือธรรมะ: ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอุดมการณ์

Main Article Content

อำนาจ ปักษาสุข
สมชาย สำเนียงงาม

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลวิธีทางภาษาที่ใช้สื่ออุดมการณ์ เชิงธุรกิจในวาทกรรมเกี่ยวกับ “บุญ” ในหนังสือธรรมะตามแนวทางวาทกรรม วิเคราะห์เชิงวิพากษ์ โดยผู้วิจัยเก็บข้อมูลจากหนังสือธรรมะที่ชื่อมีคําว่า “บุญ” ปรากฏอยู่ จํานวน 30 เล่ม ผลการศึกษาพบกลวิธีทางภาษาที่ใช้สื่ออุดมการณ์ เชิงธุรกิจในวาทกรรมเกี่ยวกับ “บุญ” ในหนังสือธรรมะ 6 กลวิธี ได้แก่ การใช้อุปลักษณ์ การเลือกใช้คําศัพท์ การใช้ประโยคแสดงเหตุผล การใช้มูลบท การใช้ สหบท และการใช้วัจนกรรม กลวิธีทางภาษาดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าบุญเป็น สินค้าที่มีมูลค่า สามารถลงทุนและบริหารจัดการเพื่อให้ได้กําไรหรือผลตอบแทน มากที่สุดซึ่งได้แก่ความมั่งคั่งรํ่ารวย ทําให้คนในสังคมไทยต้องรู้จักวางแผนการทําบุญ สิ่งเหล่านี้สะท้อนให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างความคิดเชิงธุรกิจกับการทําบุญ ในสังคมไทย

Article Details

How to Cite
ปักษาสุข อ., & สำเนียงงาม ส. (2018). อุดมการณ์เชิงธุรกิจในวาทกรรมเกี่ยวกับบุญในหนังสือธรรมะ: ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอุดมการณ์. วรรณวิทัศน์, 18, 105–137. https://doi.org/10.14456/vannavidas.2018.5
บท
บทความประจำฉบับ

References

กรีสุดา เฑียรทอง. (2524). การศึกษาเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องบุญและบาปในพุทธศาสนาและคริสต์ศาสนาและผลของความเชื่อนั้นที่มีต่อวิถีทางดําเนินชีวิตของพุทธศาสนิกชนและคริสตศาสนิกชน: ศึกษาเฉพาะกรณีตําบลสําเภาล่ม อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหิดล, นครปฐม.

กฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์. (2539). ปริจเฉทในมุมมองใหม่. ภาษาและภาษาศาสตร์, 14(2), 1–14.

กิ่งพร ทองใบ. (2549). กลยุทธ์และนโยบายธุรกิจ (พิมพ์ครั้งที่ 5). นนทบุรี: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

จารุณี วงศ์ละคร. (2559). วาทกรรมบุญในวรรณกรรมอีสาน. มนุษยศาสตร์สาร, 17(1), 44–76.

ชนกพร พัวพัฒนกุล. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอุดมการณ์ในวาทกรรมการพยากรณ์ดวงชะตา: การวิเคราะห์วาทกรรมเชิงวิพากษ์. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. (2555). เอกสารคําสอนรายวิชา 2201783 การวิเคราะห์ภาษาไทยตามแนววัจนปฏิบัติศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. (2556). วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ตามแนวภาษาศาสตร์: แนวคิดและการนํามาศึกษาวาทกรรมในภาษาไทย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บุญทิวา พ่วงกลัด. (2554). วาทกรรม “บุญนิยม”: กรณีศึกษาชุมชนราชธานีอโศกจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 28(2), 174–207.

ปิยภรณ์ อบแพทย์. (2552). อุปลักษณ์เกี่ยวกับชีวิตในหนังสือธรรมะ. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

พระไพศาลวิศาโล. (2559). พุทธศาสนาไทยในอนาคตแนวโน้มและทางออกจากวิกฤต (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง.

พระเมธีธรรมาภรณ์. (2537). กรรม. ในคํา: ร่องรอยความคิดความเชื่อไทย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิจัยฝ่ายวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พระมหาเอกนรินทร์ (เอกนโรวงษ์ขันธ์). (2536). การศึกษาเชิงวิเคราะห์เรื่องบุญในพุทธปรัชญาเถรวาทและปรัชญาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พระนครศรีอยุธยา.

ภัทราบุญสุยา. (2545). ศึกษาระดับและเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องบุญ – บาปตามกฎแห่งกรรมในพระพุทธศาสนาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ สหวิทยาเขตนครหาดใหญ่ อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยทักษิณ, สงขลา.

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2545). เอกสารการสอนชุดวิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจหน่วยที่ 1–9 (พิมพ์ครั้งที่ 12). นนทบุรี: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

รัตนาวดี ศิริทองถาวร. (2548). การประชาสัมพันธ์ธุรกิจ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วรพงศ์ ไชยพฤกษ์. (2556). วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์: มุมมองใหม่ในการวิจัยทางภาษาไทย. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 8(1), 135–162.

วิทยากร เชียงกูล. (2547). อธิบายศัพท์บริหารจัดการสมัยใหม่ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ:สายธาร.

วิสันต์ สุขวิสิทธิ์. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอุดมการณ์ในหนังสือเรียนรายวิชาภาษาไทยตามหลักสูตรประถมศึกษาพ.ศ. 2503–2544: การศึกษาตามแนววาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

ศิริพร ภักดีผาสุข. (2553). รายงานการวิจัยเรื่องวาทกรรม “ความเป็นผู้หญิง” ในนิตยสารสุขภาพและความงามภาษาไทย (รายงานวิจัย). กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ศุภรัตน์ แสงฉัตรแก้ว. (2556). วาทกรรมเกี่ยวกับประชาธิปไตย: กรณีศึกษาสุนทรพจน์ของนายกรัฐมนตรีไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร, นครปฐม.

สํานักงานราชบัณฑิตยสภา. (2559). พจนานุกรมศัพท์บริหารธุรกิจฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานราชบัณฑิตยสภา.

สิริมา เชียงเชาว์ไว. (2556). อุปลักษณ์เกี่ยวกับธรรมะในปาฐกถาธรรมของพุทธทาสภิกขุ. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร, นครปฐม.

สิริวุฒิ บูรณพิร. (2557). สภาพแวดล้อมของการประกอบธุรกิจในอดิศักดิ์ธีรานุพัฒนาและศรัญญากันตบุตร (บรรณาธิการ), การเป็นผู้ประกอบการและธุรกิจเบื้องต้น (น. 1–13). เชียงใหม่: ภาควิชาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สุนทรี โชติดิลก. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอุดมการณ์ในวารสาร “อยู่ในบุญ”สุขที่พึงประสงค์สุขได้ด้วยบุญ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 4(2), 165–200.

สุนทรี โชติดิลก. (2561). “เด็กดีต้องทําบุญ” ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอุดมการณ์ในวาทกรรมสื่อสําหรับเด็กที่ผลิตโดยวัดพระธรรมกาย. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 40(1), 85–123.

อนิวัช แก้วจํานง. (2553). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจ (พิมพ์ครั้งที่ 3). สงขลา: ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยทักษิณ.

Fairclough, N. (1989). Language and power. London: Longman.

Fairclough, N. (1995a). Critical discourse analysis: The critical study of language. London: Pearson.

Fairclough, N. (1995b). Media discourse. London: Pearson.

Fairclough, N., & Wodak, R. (1992). Discourse and social change. Cambridge: Policy Press.

Mey, J. (1993). Pragmatics: An introduction. Oxford: Blackwell.

Paltridge, B. (2006). Discouse analysis an introduction. London: Continuum.

Van Dijk, T. A. (1997). Discourse as social interaction. London: SAGE.

Van Dijk, T. A. (2003). Critical Discourse Analysis. In D. Schiffrin, D. Tannen, & H. Hamilton (Eds.), The Handbook of Discourse Analysis (pp. 352–356). Malden, MA: Blackwell.

Van Dijk, T. A. (2008). Discourse and power. New York, NY: Palgrave Macmillan.

ขอให้งวดนี้ถูกเสียที! มิติใหม่ของคอหวยอิ่มบุญแถมได้ลุ้นเสี่ยงโชค. (30 สิงหาคม 2560). ไทยรัฐ. สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/content/1053907

คนไทยใจพุทธทอดกฐินเงินสะพัด 8,700 ล้าน. (27 ตุลาคม 2556). โพสต์ทูเดย์. สืบค้นจาก https://www.posttoday.com/economy/research/255440

ชาวบ้านแห่ทําบุญ-ขอโชคลาภ “3 เจ้าแม่ตะเคียน” ที่วัดหลวงพ่อนาคอ.บ้านผืออุดรธานี!!!. (15 เมษายน 2560). ทีวีพูล. สืบค้นจาก https://www.tvpoolonline.com/content/418224

นิธิ เอียวศรีวงศ์. (มีนาคม 2561). พุทธธรรมกับทุนนิยม. มติชนสุดสัปดาห์, 38(1961).สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_89588

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2556). ท่องเที่ยวทําบุญเข้าพรรษา . . . คึกคักหนุนตลาดไทยเที่ยวไทยไตรมาส 3 ปี ’56 มีรายได้ 1.2 แสนล้านบาท. (18 กรกฎาคม 2556). กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 2384. สืบค้นจาก https://www.kasikornresearch.com/th/keconanalysis/pages/ViewSummary.aspx?docid=31545

เทศกาลปีใหม่ 2556: คนกรุงสบายใจ . . . ไร้ปัญหาการเมือง-ภัยธรรมชาติจับจ่ายฉลองปีใหม่ 21,300 ล้านบาท. (20 ธันวาคม 2555). ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. สืบค้นจาก https://news.thaipbs.or.th/content/134343

เทศกาลปีใหม่’ 57: คาดเม็ดเงินคนกรุงสะพัด 23,100 ล้านบาท . . . แม่เผชิญแรงกดดันจากค่าครองชีพและปัญหาการเมือง. (18 ธันวาคม 2556). กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 2441. สืบค้นจาก https://www.kasikornresearch.com/th/KEconAnalysis/Pages/ViewSummary.aspx?docid=32140

เทศกาลปีใหม่’ 58: ลุ้นกําลังซื้อปลายปีที่มาพร้อมวันหยุดยาว . . . คาดดันเม็ดเงินจับจ่ายของคนกรุงเทพฯ สะพัดไม่ตํ่ากว่า 25,000 ล้านบาท. (16 ธันวาคม 2557). กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 2568. สืบค้นจาก https://www.kasikornresearch.com/th/keconanalysis/pages/ViewSummary.aspx?docid=33476

ภาวะเศรษฐกิจซบเซากับโครงสร้างเศรษฐกิจ. (1 มิถุนายน 2558). ประชาชาติธุรกิจ.สืบค้นจาก https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1433131359

ยอดขายสังฆภัณฑ์พุ่งรับคนไทยใฝ่บุญสังฆทาน-เครื่องบวชแชมป์สินค้ายอดนิยม. (3 สิงหาคม 2555). มติชน. สืบค้นจาก http://m.matichon.co.th/readnews.php?newsid=1343966012&grpid=03&catid=.

วันมาฆบูชาปีนี้คนไทยหันเข้าวัดทําบุญเงินสะพัดกว่า 2.6 พันล้าน. (18 กุมภาพันธ์ 2559). มติชน. สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th/news/43272

แห่ขอเลขเด็ด ‘เจ้าแม่ตะเคียน’ แน่นวัดปทุมชาติวันพระใหญ่. (22 กรกฎาคม 2556). ไทยรัฐ. สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/content/358708

SCB EIC วิเคราะห์มุมมองเศรษฐกิจไทยไตรมาส 3 ปี 2558. (2 กรกฎาคม 2558). ประชาชาติธุรกิจ. สืบค้นจาก https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1435821093