“ตัวละครปลา” ในนิทานไทย: สัญลักษณ์และบทบาท

Main Article Content

วรสิทธิ์ บุญญาล้ำเลิศ
อภิลักษณ์ เกษมผลกูล

บทคัดย่อ

“ตัวละครปลา” ในนิทานไทยเป็นเรื่องราวที่สะท้อนชีวิตของคนริมฝั่งน้ำ นิทานดังกล่าว นอกจากจะแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างคนกับปลา ยังแสดงให้เห็นถึงอำนาจวิเศษบางประการเกี่ยวกับตัวละครปลาด้วย งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความหมายเชิงสัญลักษณ์ของตัวละคร “ปลา” ที่ปรากฏในนิทานพื้นบ้านไทยตามแนวคิดเรื่องสัญลักษณ์ของ คลิฟฟอร์ด เกียร์ตซ์ รวมถึงวิเคราะห์บทบาทของตัวละครปลาต่อการดำเนินเรื่องและบทบาทของนิทานต่อสังคมตามแนวคิดบทบาทหน้าที่ของคติชน เก็บรวบรวมนิทานจากภาคผนวกงานวิจัยและรายงานการวิจัยเกี่ยวกับนิทานพื้นบ้านในประเทศไทย และเว็บไซต์อื่น ๆ รวมทั้งหมด 26 เรื่อง ผลการวิจัยพบว่าตัวละครปลามีความหมายเชิงสัญลักษณ์ 3 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ สัญลักษณ์ในการเป็นตัวแทนพฤติกรรมของมนุษย์ สัญลักษณ์ที่แสดงความเชื่อในวัฒนธรรม และสัญลักษณ์ที่แสดงอัตลักษณ์ของกลุ่มชน ส่วนบทบาทของตัวละครปลาต่อการดำเนินเรื่องจำแนกเป็น 3 บทบาท ได้แก่ บทบาทในการเปิดเรื่อง บทบาทในการผูกปมขัดแย้ง และบทบาทในการแก้ปมขัดแย้งและคลี่คลายปม บทบาทของนิทานต่อสังคม ได้แก่ บทบาทในการอธิบายต้นกำเนิดและอัตลักษณ์ของกลุ่มชนและพิธีกรรม บทบาทในการให้การศึกษา อบรมระเบียบของสังคม และรักษามาตรฐานพฤติกรรมของสังคม รวมถึงบทบาทในการเป็นทางออกให้กับความคับข้องใจของบุคคลอันเกิดจากกฎเกณฑ์ทางสังคม

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กิตติพงษ์ วงศ์ทิพย์. (8 กันยายน 2550). องค์ประกอบของงานเขียนประเภทบันเทิงคดี. http://khrudaysi.blogspot.com/2007/09/blog-post_08.html

กฤษณา แดนสีแก้ว. (2559). นิทานพื้นบ้านอำเภอโกสุมพิสัย: การศึกษาเชิงคติชน. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.http://fulltext.rmu.ac.th/fulltext/2559/121295/kissana%20deanseekaew.pdf

แคทรียา อังทองกำเนิด. (2561). บทบาทของพระอิศวรในนิทานพื้นบ้านไทย. วารสารไทยศึกษา, 14(1), 105-127.

คมกฤษณ์ วรเดชนัยนา และปฐม หงษ์สุวรรณ. (2563). ช้างในวรรณกรรมนิทานอีสาน: การสร้างอัตลักษณ์สัตว์และความหมายทางวัฒนธรรม. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 8(1), 233-246.

จตุพร ทองอุ่น. (2552). อิศปปกรณำ นิทานอีสปฉบับสมุดไทย. วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช, 22(2), 137-141.

จีรนันท์ คงรักษ์. (2558). การศึกษาค่านิยมที่ปรากฏในนิทานพื้นบ้านไทยพวน ตำบลหาดเสี้ยว อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. TDC-ThaiLIS. https://tdc.thailis.or.th/tdc/dccheck.php?Int_code=94&RecId=8811&obj_id=88854&showmenu=no&userid=0

จงกล เก็ตมะยูร. (2538). วิถีชีวิตของชาวบ้านในนิทานพื้นบ้าน อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด : การศึกษาเชิงวิเคราะห์ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. TDC-ThaiLIS. https://tdc.thailis.or.th/tdc/dccheck.php?Int_code=96&RecId=14256&obj_id=20923&showmenu=no&userid=0

ฉันทนา เย็นนาน. (2539). การศึกษาวิเคราะห์นิทานพื้นบ้านภาคกลาง [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. TDC-ThaiLIS. https://tdc.thailis.or.th/tdc/dccheck.php?Int_code=96&RecId=8725&obj_id=14492

ชม นำพา. (2 ธันวาคม 2561). คอลัมน์ เคี้ยวตุ้ย..ตะลุยกิน: ‘น้ำพริก-ข้าว-ปลาเค็ม-ปลาแห้ง’ ของกินง่ายๆ อาหารไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา. มติชนออนไลน์. https://www.matichon.co.th/lifestyle/news_1254499

ชลธิชา นิสัยสัตย์. (2552). "ยักษ์" ในนิทานพื้นบ้านภาคเหนือของไทย: บทบาทและความหมายเชิงสัญลักษณ์ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย. http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16331

ไตรภูมิกถา หรือ ไตรภูมิพระร่วง พระราชนิพนธ์พระมหาธรรมราชาที่ ๑ พญาลิไทย ฉบับตรวจสอบชำระใหม่. (2526). (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรมศิลปากร.

บัวผัน สุพรรณยศ. (2562). เพลงพื้นบ้านภาคกลาง: ศิลปะการสอนเพศศึกษาแบบชาวบ้านไทย. วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ, 26(2), 152-200.

บุษรา เรืองไทย. (2548). บทบาทของลิงในนิทานไทย. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70710

ปิ่นอนงค์ ปานชื่น. (31 พฤษภาคม 2559). อาหารโบราณ 4 แผ่นดิน. กรุงเทพธุรกิจ. https://www.bangkokbiznews.com/lifestyle/700463

ปรเมศวร์ อุตระนิตย์ และ ปฐม หงษ์สุวรรณ. (2559). ม้าในวรรณกรรมนิทานพื้นบ้านอีสาน: บทบาทและความหมายเชิงวัฒนธรรม. วารสารบัณฑิตศึกษามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 5(2), 1-28.

พรรณราย ชาญหิรัญ. (2551). บทบาทของจระเข้ในนิทานไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57225

เพลิงสุริยเทพ รามางกูร ณ โคตะปุระ. (2557). สัญลักษณ์ปลาในพระพุทธศาสนาเถรวาท [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. https://archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2557/buds50457pjm_tpg.pdf

เพลิงสุริยเทพ รามางกูร ณ โคตะปุระ. (2558). สัญลักษณ์ปลาในพระพุทธศาสนาเถรวาท. วารสารปณิธาน, 11(16), 37-57.

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. (ม.ป.ป.). ปลา. สืบค้น เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 จาก https://dictionary.orst.go.th/

ภาษาถิ่นและนิทานพื้นบ้านภาคใต้. (ม.ป.ป.). เรื่อง ปลาแก้มช้ำ. สืบค้นเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 จาก https://sites.google.com/site/phasathinti/nithan-phun-ban-phakh-ti/reuxng-pla-kaem-cha

มณีรัตน์ จันทลักษณ์, ทองคำ ถาวร, นรรถฐิยา ผลขาว, แดง ศิลายศ, ภัสราวรรณ์ สุขกุล, แป รัตนคำ, จิตร มงคลมะไฟ, ทา ไชยสิงห์, จิตฤดี วรโพธิ์, เถาว์ บรรจง, เบญจมาศ ทองแสง, สำราญ รัตนโสภา, รักทวี ผลขาว, บุญเชฟร์ มีสิทธิ์, ภัทราพร โพธิแสน, สุวรรณ ไตรยสุทธิ์, ดวงกมล ศิลาคุปต์, เล่ง บัวเขียว, มณีวรรณ ปั้นทอง, . . . คำปลิว สระน้อย. (2552). โครงการตามหานิทานพื้นบ้าน. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.

วัชรญาณ. (ม.ป.ป.). ปัญญาสชาดก. สืบค้นเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 จาก https://vajirayana.org/ปัญญาสชาดก

วิไลวรรณ วงษ์ฉาย. (2539). วิเคราะห์โครงสร้างของนิทานเรื่องสัตว์ภาคกลาง [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. TDC-ThaiLIS. https://tdc.thailis.or.th/tdc/dccheck.php?Int_code=96&RecId=10333&obj_id=16104&showmenu=no&userid=0

วีระพล ไฝ่แจ้คำมูล. (2557). ช้างในนิทานพื้นบ้านล้านนา [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. http://cmuir.cmu.ac.th/handle/6653943832/39814?mode=full

เสฐียรโกเศศ. (2512). ประเพณีเนื่องในการตาย. ศูนย์การพิมพ์ ซอยสุภัทรผล.

สุกัญญา สุจฉายา. (2549). พิธีกรรม ตำนาน นิทาน เพลง: บทบาทของคติชนกับสังคมไทย (พิมพ์ครั้งที่ 2). โครงการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุกัญญา สุจฉายา. (2562). ทัศนคติเรื่องเพศของคนไทย จากผลงานวิจัยชุดวรรณกรรมตำราเพศศาสตร์ของคนไทยภาคกลาง. วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ, 26(2), 1-36.

สรณัฐ ไตลังคะ. (2560). ศาสตร์และศิลป์แห่งการเล่าเรื่อง (พิมพ์ครั้งที่ 3). โครงการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ศิราพร ณ ถลาง. (2548). ทฤษฎีคติชนวิทยา วิธีวิทยาในการวิเคราะห์ตำนาน-นิทานพื้นบ้าน. โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศุภลักษณ์ ปัญโญ. (2551). การศึกษาบทบาทของผีในนิทานพื้นบ้านล้านนา [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. https://archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/lanna0851sp_tpg.pdf

ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). (2550). จารึกพ่อขุนรามคำแหง. https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/47

อคิน รพีพัฒน์. (2551). วัฒนธรรมคือความหมาย ทฤษฎีและวิธีการของคลิฟฟอร์ด เกียร์ซ. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).

อัจฉราวรรณ ชัยมงคล. (2555). นิทานพื้นบ้านของชาวตำบลโกรกกราก อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. http://cms.dru.ac.th/jspui/handle/123456789/832.

อภิญญา ด่อนดี. (2558). การวิเคราะห์จริยธรรมและความเชื่อที่ปรากฏในนิทานพื้นบ้านชาวไทยภูเขาเผ่าม้ง ตำบลคลองลานพัฒนา อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. TDC-ThaiLIS. https://tdc.thailis.or.th/tdc/dccheck.php?Int_code=94&RecId=8896&obj_id=88938&showmenu=no&userid=0

อรัญญา แสนสระ. (2561). นิทานพื้นบ้านกับการสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. TDC-ThaiLIS. https://tdc.thailis.or.th/tdc/dccheck.php?Int_code=95&RecId=31173&obj_id=187209&showmenu=no&userid=0

DABOSS. (2004). The Cormorant and The Fishes. https://fablesofaesop.com/cormorant-fishes.html

DABOSS. (2013). The Fisherman and The Little Fish. https://fablesofaesop.com/the-fisherman-and-the-little-fish.html

DABOSS. (2014). The Angler and The Salmon. https://fablesofaesop.com/angler-salmon.html

Laddawan Meegul. (20 กุมภาพันธ์ 2545). ปล่อยนกปล่อยปลา. https://www.nectec.or.th/schoolnet/library/create-web/10000/literature/10000-3077.html

sence9. (2562). ละครพื้นบ้าน ปลาบู่ทอง 2537 (EP.1-49 ตอนจบ) HD END. https://sence9.com/lakornthai/ละครพื้นบ้าน-ปลาบู่ทอง-2537/