อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์เกี่ยวกับ “บุญคุณ” ในภาษาไทย

Main Article Content

ธรรมวัฒน์ พัฒนาสุทธินนนท์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถ้อยคำอุปลักษณ์ที่สะท้อนมโนทัศน์เกี่ยวกับ “บุญคุณ” ในภาษาไทย โดยเก็บข้อมูลด้วย
คำค้น “บุญคุณ” จากคลังข้อมูลภาษาไทยแห่งชาติของภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พบข้อความที่ปรากฏถ้อยคำอุปลักษณ์เกี่ยวกับบุญคุณจำนวนทั้งสิ้น 403 ข้อความ ผลการศึกษาพบว่า ถ้อยคำอุปลักษณ์ที่สะท้อนมโนทัศน์เกี่ยวกับบุญคุณมี 3 มโนทัศน์ ได้แก่ [บุญคุณ คือ วัตถุสิ่งของ] [บุญคุณ คือ หนี้] และ [บุญคุณ คือ มนุษย์] มโนทัศน์เกี่ยวกับบุญคุณที่พบสะท้อนวิธีการทำความเข้าใจ “บุญคุณ” อันเป็นความคิดที่เป็นนามธรรมด้วยการถ่ายโยงจากประสบการณ์ที่มนุษย์รู้จักและเข้าใจ มโนทัศน์เกี่ยวกับบุญคุณที่พบยังสะท้อนให้เห็นแนวคิดในสังคมวัฒนธรรมไทยบางแง่มุม

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะอักษรศาสตร์, ภาควิชาภาษาศาสตร์. (ม.ป.ป.). ถาม-ตอบ ปัญหา. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 เมษายน 2565, จาก https://www.arts.chula.ac.th/ling/tnc/faq/

ชาญวิทย์ เยาวฤทธา. (2555). แนวคิดเรื่อง “บุญคุณ” กับวัจนกรรม 3 ชนิดในสังคมไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทรงธรรม อินทจักร. (2553). ความสุภาพ ความเกรงใจ และวัจนปฏิบัติศาสตร์ปลดพันธนาการ. วารสารภาษาและภาษาศาสตร์, 29(1), 17-42.

ปาลิตา ผลประดับเพ็ชร. (2559). อุปลักษณ์เชิงรูปธรรม (Ontological Metaphor) ในภาษาไทย. รมยสาร, 14(1), 65-73.

ปาลิตา ผลประดับเพ็ชร. (2560). นามนัยในภาษาไทย. วรรณวิทัศน์, 17, 188-218.

รัชฏา วิวัฒนเวช. (2532). ถาม-ตอบ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยหนี้ (พิมพ์ครั้งที่ 3). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่น.

วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2555). กิเลส: การศึกษาอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ในภาษาไทย. วารสารมนุษยศาสตร์, 19(2), 24-41.

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (14 กรกฎาคม 2552). บุญคุณ. http://legacy.orst.go.th/?knowledges=บุญคุณ-๑๔-กรกฎาคม-๒๕๕๒

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2560). พจนานุกรมศัพท์ภาษาศาสตร์ (ภาษาศาสตร์ทั่วไป). ราชบัณฑิตยสภา.

เอกพล ดวงศรี. (2560). กรรม: อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ที่สะท้อนความเชื่อในสังคมไทย. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 10(1), 86-102.

อำนาจ สงวนกลาง. (2563). การศึกษาวิเคราะห์ความกตัญญูกตเวทีในพระพุทธศาสนาเถรวาท. ธรรมธารา วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา, 7(1), 101-130.

Goatly, A. (1998). the Language of Metaphors. Routledge.

Intachakra, S. (2012). Politeness motivated by the ‘heart’ and ‘binary rationality’ in Thai culture. Journal of Pragmatics, 44(5), 619-635.

Klausner, W. J. (1993). Reflections on Thai culture (4th ed.). The Siam Society.

Komin, S. (1990). National character in the Thai nine values orientations. http://www.thaisunset.com/downloads/Suntaree%20Komin%20Thai%20National%20Character.pdf

Kövecses, Z. (2010). Metaphors: A practical introduction (2nd ed.). Oxford University Press.

Lakoff, G., & Johnson, M. (1980). Metaphors we live by. The University of Chicago Press.

Panpothong, N., & Phakdeephasook, S. (2008). The concept of ‘Bunkhun’ and Thai ways of speech behaviors: The case of responding to thanks [Unpublished manuscript]. Department of Thai, Faculty of Arts, Chulalongkorn University.