ความเป็นอีสานในเรื่องสั้นที่ตีพิมพ์ในวารสารชายคาเรื่องสั้น (พ.ศ. 2557-2565)
Main Article Content
บทคัดย่อ
เรื่องสั้นที่ตีพิมพ์ในวารสารชายคาเรื่องสั้น ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557- 2565 นำเสนอประเด็นเกี่ยวกับภาคอีสานของไทยอย่างหลากหลาย สามารถประมวลประเด็นเรื่องความเป็นอีสานได้ 3 ประการสำคัญ ได้แก่ ความเป็นอีสานในฐานะผู้ได้รับผลกระทบทางการเมือง โดยนักเขียนได้หวนกลับไปทบทวนประวัติศาสตร์ความรุนแรงในภูมิภาคอีสานทั้งการรวมอำนาจของรัฐไทยและการปราบปรามทางการเมืองที่นำไปสู่การสร้างความเป็นอื่น การถูกตีตรา หรือการกดขี่ ประการต่อมาคือความเป็นอีสานในฐานะผู้ได้รับผลกระทบจากการพัฒนาและทุนนิยมซึ่งสะท้อนความเปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิตเกี่ยวกับการอพยพย้ายถิ่น และการได้รับผลกระทบจากนโยบายของรัฐ ประการสุดท้ายคือความเป็นอีสานที่สัมพันธ์กับวิถีชีวิตซึ่งเชื่อมโยงความเป็นอีสานกับวิถีชนบท ความเชื่อและประเพณีท้องถิ่นที่มีทั้งความรู้สึกหวงแหนและการตระหนักในพลวัตความเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมอีสาน การวิเคราะห์ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าการนำเสนอความเป็นอีสานในวารสารชายคาเรื่องสั้นมีทั้งการสืบทอดแนวคิดท้องถิ่นนิยมในวรรณกรรมเกี่ยวกับอีสานยุคก่อนหน้า และการนำเสนอความเป็นอีสานในแง่มุมเชิงวิพากษ์ซึ่งสัมพันธ์กับจุดยืนทางการเมืองของวารสาร
Article Details
References
กนกวรรณ มะโนรมย์. (2563). อีสานหลังการพัฒนา: ทันสมัย ไคแหน่ แต่บ่คัก. วนิดาการพิมพ์.
กานดา พุทธขันธ์. (2559). ด.ญ. กล้วย. ใน มาโนช พรหมสิงห์ (บรรณาธิการ), เด็กดีของประเทศที่ไร้อนาคต (น. 28-33). เขียน.
คีต์ คิมหันต์. (2559). เฮือนไม้ติดทางที่ยังบ่มีรั้ว. ใน มาโนช พรหมสิงห์ (บรรณาธิการ), ถ้อยเถื่อนแห่งอารยธรรม (น. 54-60). เขียน.
คีต์ คิมหันต์. (2561). ตีนเปิ่มเมือบ้าน. ใน มาโนช พรหมสิงห์ (บรรณาธิการ), เมืองมหรศพ (น. 58-71). เขียน.
จักรกฤษ กมุทมาศ. (2560). การก่อตัวและพัฒนาการของกลุ่มคนเสื้อแดงจังหวัดขอนแก่น [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]. Thammasat University Digital Collections.
จารุพัฒน์ เพชราเวช. (2558). ห่าก้อม. ใน มาโนช พรหมสิงห์ (บรรณาธิการ), มวลดอกไม้ในยุคมืด (น. 78 - 93). เขียน.
จิณห์วรา ช่วยโชติ. (2564). การเปลี่ยนแปลงความคิดทางการเมืองในงานวรรณกรรมของนักเขียนอีสานระหว่างทศวรรษ 2530 - 2550 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
จุลพงษ์ แซ่เอี้ยว. (2559). เหล่าเกี้ย. ใน มาโนช พรหมสิงห์ (บรรณาธิการ), เด็กดีของประเทศที่ไร้อนาคต (น. 82-94). เขียน.
ชัชวาลย์ โคตรสงคราม. (2558). ไม่เพียงแต่ทอผ้าเท่านั้น. ใน มาโนช พรหมสิงห์ (บรรณาธิการ), มวลดอกไม้ในยุคมืด (น. 1-17). เขียน.
ชานันท์ ยอดหงษ์. (2560). Hannah Arendt นักสันติวิธีสตรีที่ไม่สตรีนิยมแต่เสรีนิยมในสงครามเย็น. วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์, 4(1), 12-61.
เดือนเพ็ญ หงศ์ลดารมภ์. (2652). บุตรีในครรภ์สยาม. ใน มาโนช พรหมสิงห์ (บรรณาธิการ), บุตรธิดาแห่งสยาม (น. 178-186). เขียน.
นิธิ นิธิวีรกุล. (2563). ห้องว่าง. ใน มาโนช พรหมสิงห์ (บรรณาธิการ), ผู้ปรารถนาเสรีภาพ (น. 100-112). เขียน.
บัณฑิต เทียนรัตน์. (2558). ไปพักผ่อนที่หนองระแหง. ใน มาโนช พรหมสิงห์ (บรรณาธิการ), สุสานของความสุข (น. 133-144). เขียน.
เบญจวรรณ นาราสัจจ์. (2552). ประวัติศาสตร์ภูมิปัญญาอีสาน. ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ประจักษ์ ก้องกีรติ. (2555). มายาคติและการเมืองของนิทานสอนใจว่าด้วยความโง่ จน เจ็บ ของผู้เลือกตั้งชนบท. ใน ประจักษ์ ก้องกีรติ (บรรณาธิการ), การเมืองว่าด้วยการเลือกตั้ง : วาทกรรม อำนาจ และพลวัตชนบทไทย (น. 3-42). ฟ้าเดียวกัน.
ปั้นคำ. (2561). 19 กันยายน 2549. ใน มาโนช พรหมสิงห์ (บรรณาธิการ), เมืองมหรศพ (น. 86-96). เขียน.
พรรคเพื่อไทย. (9 พฤศจิกายน 2564). ‘สร้างอนาคตไทย 2020’ ความฝันของประชาชนที่ถูกทำลาย. https://ptp.or.th/archives/18400
พัฒนา กิติอาษา. (2557). สู่วิถีอีสานใหม่. วิภาษา.
พิชญ อนันตรเศรษฐ์. (2559). การรอคอย. ใน มาโนช พรหมสิงห์ (บรรณาธิการ), ถ้อยเถื่อนแห่งอารยธรรม (น. 74-86). เขียน.
พิเชฐ แสงทอง. (2559). ปรากฏการณ์วรรณกรรมไทย พ.ศ. 2530-2559. รูสมิแล, 37(2), 80-89.
พิณพิพัฒน ศรีทวี. (2559). อีอำพรกินแมว. ใน มาโนช พรหมสิงห์ (บรรณาธิการ), เด็กดีของประเทศที่ไร้อนาคต (น. 56-81). เขียน.
พีระ ส่องคืนอธรรม. (2560). ตำนานนางพญาคางคกแห่งบ้านนาสาลี. ใน มาโนช พรหมสิงห์ (บรรณาธิการ), สุดพรมแดนแสงดาว (น. 56-73). เขียน.
ภู กระดาษ. (2560). ห้องหับบนชั้น 7. ใน มาโนช พรหมสิงห์ (บรรณาธิการ), สุดพรมแดนแสงดาว (น. 134-145). เขียน.
ภูมิชาย คชมิตร. (2561). ความหฤหรรษ์ของคนจนจากการอ่านนิยายแปดเรื่อง. ใน มาโนช พรหมสิงห์ (บรรณาธิการ), เมืองมหรศพ (น. 108-118). เขียน.
มาโนช พรหมสิงห์. (26 พฤศจิกายน 2562). “ชายคาเรื่องสั้น” บนที่ราบสูงแห่งความโง่-จน-เจ็บ: ยุคแรก.The Isaan Record. https://theisaanrecord.co/2019/11/26/isaan-short-story-1/
ราชบัณฑิตยสภา. (2562). ขุนบรม. ใน อนุสรณ์ในการพระราชทานเพลิงศพ ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร (น. 106-108). ราชบัณฑิตยสภา.
วุฒินันท์ ชัยศรี. (2558). ความขัดแย้งและความสมานฉันท์ในเรื่องสั้นร่วมสมัย : กรณีศึกษาจาก เรื่องสั้นรางวัลพานแว่นฟ้า นิตยสารราหูอมจันทร์ และนิตยสารชายคาเรื่องสั้น. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 7(2), 65-94.
สมิง จารย์คุณ. (2550). พันธกิจของนักเขียนและบทบาทของวรรณกรรม: กรณีศึกษาจากนักเขียนสโมสรนักเขียนภาคอีสาน [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สมิง จารย์คุณ. (2552). ท้องถิ่นนิยมในเรื่องสั้นของนักเขียนภาคอีสาน : บทสำรวจเบื้องต้นในมิติวรรณกรรมกับสังคม. ใน ธเนศ เวศร์ภาดา (บรรณาธิการ), อยู่คู่กาลกับโลก การศึกษาวรรณคดี วรรณกรรม และสื่อร่วมสมัย (น. 171-187). มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
สมุด ทีทรรศน์. (2559). วันพักร้อนของพนักงานคนหนึ่ง. ใน มาโนช พรหมสิงห์ (บรรณาธิการ), เด็กดีของประเทศที่ไร้อนาคต (น. 96-108). เขียน.
สองขา. (2558). คิดฮอด. ใน มาโนช พรหมสิงห์ (บรรณาธิการ), สุสานของความสุข (น. 1-11). เขียน.
สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. (2561). จุดเริ่มต้นมาตรการสวัสดิการแห่งรัฐ นวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาความยากจน. วารสารไทยคู่ฟ้า, ฉบับเดือนเมษายน-มิถุนายน 2561, 6-7. https://spm.thaigov.go.th/FILEROOM/spm-thaigov/DRAWER004/GENERAL/DATA0000/00000438.PDF
อธิวัฒน์ พงษ์สุระ. (2559). มนุษย์เสพติด. ใน มาโนช พรหมสิงห์ (บรรณาธิการ), เด็กดีของประเทศที่ไร้อนาคต (น. 40-48). เขียน.
อริญชย์ วรรณชาติ. (2553). ความรู้เรื่องอีสานของชนชั้นนำสยาม พ.ศ. 2433-2475. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository (CUIR).
ฮอยล้อ. (2558). เราอยู่ในซอยนี้...คนละซอย. ใน มาโนช พรหมสิงห์ (บรรณาธิการ), สุสานของความสุข (น. 101-116). เขียน.
Boccuzzi, E. (2012). Bangkok bound. Silkworm Books.
Platt, M. B. (2013). Isan writers, Thai literature: Writing and regionalism in modern Thailand. NUS Press.