กลวิธีทางภาษาในปริจเฉทเรื่องเล่าคดีสืบสวนในทวิตเตอร์ภาษาไทย

Main Article Content

สุภิญชญา ชูเชิด
ประไพพรรณ พึ่งฉิม

บทคัดย่อ

บทความนี้ศึกษากลวิธีทางภาษาในปริจเฉทเรื่องเล่าคดีสืบสวนในทวิตเตอร์ภาษาไทยจาก 3 บัญชีผู้ใช้ จำนวน 100 เรื่อง ตามแนวปริจเฉทวิเคราะห์และวัจนปฏิบัติศาสตร์ ผลการศึกษาพบกลวิธีทางภาษาทั้งหมด 12 กลวิธี ได้แก่ 1. การเชื่อมโยงความ 2. การให้รายละเอียด 3. การใช้วัจนลีลาแบบเป็นกันเองและการใช้วัจนลีลาแบบสนิทสนม 4. การใช้ตัวเลขกำกับ 5. การใช้คำแสดงทัศนภาวะ 6. การแสดงความรู้สึกของผู้เล่าต่อเรื่องคดีสืบสวน 7. การใช้สหบท 8. การใช้อิโมจิ 9. การใช้มูลบท 10. การใช้ถ้อยคำในเชิงเปรียบเทียบ 11. การใช้คำถามเชิงวาทศิลป์ และ 12. การถามและตอบคำถามนั้นด้วยตัวเอง จากการศึกษาพบว่ากลวิธีทางภาษาจะทำให้บรรลุเป้าหมายของการสื่อสาร 6 ประการ คือ 1. ดึงดูดความสนใจจากผู้อ่าน 2. สร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่านให้รู้สึกถึงความเป็นกันเอง 3. ทำให้ผู้อ่านเห็นภาพเสมือนได้เข้าไปอยู่ในเหตุการณ์ 4. ทำให้ผู้อ่านติดตามเรื่องเล่าได้ต่อเนื่อง 5. แสดงอารมณ์ของผู้เล่าต่อปริจเฉทเรื่องเล่าคดีสืบสวน และ 6. ทำให้ผู้อ่านติดตามเรื่องเล่าได้ง่ายและรวดเร็ว กลวิธีทางภาษาที่ใช้ในการเล่าเรื่องที่เหมาะสมกับช่องทางการเผยแพร่เรื่องเล่าช่วยทำให้เรื่องเล่านั้นน่าสนใจและบรรลุวัตถุประสงค์ที่นอกจากจะตอบสนองความสนใจใคร่รู้แล้ว ยังสามารถใช้เป็นอุทาหรณ์เพื่อให้เกิดความระมัดระวังจากเหตุการณ์อันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จันทิมา อังคพณิชกิจ. (2562). การวิเคราะห์ข้อความ (Discourse Analysis) (พิมพ์ครั้งที่ 2). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

จุฬาวดี วรเศรษฐศักดิ์. (2548). การศึกษาวิเคราะห์เรื่องเล่าสยองขวัญของรายการวิทยุ : “เดอะช็อค” [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย]. UTCC Scholar/Institutional Repository.

ชลธิชา บำรุงรักษ์. (2539). การวิเคราะห์ภาษาระดับข้อความประเภทต่าง ๆ ในภาษาไทย. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. (2549). มองคัทลียาจ๊ะจ๋าจากมุมนักภาษา: เนื้อหาและกลวิธี. โครงการเผยแพร่งานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. (2556). วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ตามแนวภาษาศาสตร์: แนวคิดและการนำมาศึกษาวาทกรรมในภาษาไทย. โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. (2564ก). เอกสารคำสอนหัวข้อที่ 1: ความเป็นมา ขอบเขต และความสำคัญของวัจนปฏิบัติศาสตร์ความเป็นมาของการศึกษาภาษาไทยตามแนววัจนปฏิบัติศาสตร์ [เอกสารไม่ตีพิมพ์]. คณะอักษรศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. (2564ข). เอกสารคำสอนหัวข้อที่ 4: มูลบท (ความเชื่อที่มีอยู่ก่อน) [เอกสารไม่ตีพิมพ์]. คณะอักษรศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. (2564ค). เอกสารคำสอนหัวข้อที่ 6: ถ้อยคำที่ไม่ได้หมายความตามรูป – ถ้อยคำอุปลักษณ์ และ ถ้อยคำนัยผกผัน [เอกสารไม่ตีพิมพ์]. คณะอักษรศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นันทวัฒน์ เนตรเจริญ. (2560). กลวิธีทางภาษาในพาดหัวข่าวเพื่อชวนให้อ่านของข่าวออนไลน์. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 39(2), 237-263.

พริ้งภัทรา กฤษณะโลม. (2563). การสื่อสารรูปแบบข้อความสั้นผ่านผู้มีชื่อเสียงบนทวิตเตอร์ และความตั้งใจซื้อของเจเนอเรชันวาย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository (CUIR).

พุ [@pupurae]. (ม.ป.ป.). เธรดทวิตเตอร์ [บัญชีผู้ใช้ทวิตเตอร์]. ทวิตเตอร์. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มกราคม 2565, จาก https://twitter.com/pupurae

เพ็ญวิษา วัฒนปรีชานนท์. (2550). กลวิธีการประพันธ์ในนวนิยายแนวสืบสวนสอบสวนของกิ่งฉัตร [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository (CUIR).

รัชนินท์ พงศ์อุดม. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับค่านิยมเกี่ยวกับความงาม: การศึกษาวาทกรรมโฆษณาเครื่องสำอางในภาษาไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository (CUIR).

ราชบัณฑิตยสถาน. (2554ก). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2554ข). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔. https://dictionary.orst.go.th/

เรื่องสยองของแอนนี่ [@ANNYSTORY_CLUB]. (ม.ป.ป.). เธรดทวิตเตอร์ [บัญชีผู้ใช้ทวิตเตอร์]. ทวิตเตอร์. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มกราคม 2565, จาก https://twitter.com/annystory_club

ลองวิเคราะห์ดู. (20 เมษายน 2566). เราศึกษาคดีฆาตกรรมแล้วได้อะไรมาบ้าง ?. Facebook. https://www.facebook.com/AnalysisDo/posts/pfbid0228bYa2DVXiuhMX5nfdRz4NTjL1pbcNhENzbW7hjJieEohAyJgst59Rie4YBfmEvml

วีณา วุฒิจำนงค์. (2563). เรื่องเล่าความทรงจำเหตุการณ์ธรณีพิบัติภัยสึนามิในประเทศไทย: การศึกษาปริจเฉทเรื่องเล่าและอารมณ์ขัน [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository (CUIR).

ศัพท์วัยรุ่น รวม 40 ศัพท์ใหม่ 2020 ทีนเอจใช้กันไม่รู้ไม่ได้นะ!. (16 สิงหาคม 2563). ข่าวสดออนไลน์. https://www.khaosod.co.th/lifestyle/beauty/news_4716965

สมทรง บุรุษพัฒน์. (2537). วจนะวิเคราะห์: การวิเคราะห์ภาษาระดับข้อความ Discourse analysis. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2560). พจนานุกรมศัพท์ภาษาศาสตร์ (ภาษาศาสตร์ทั่วไป) ฉบับราชบัณฑิตยสภา. สำนักงานราชบัณฑิตยสภา.

สิทธิธรรม อ่องวุฒิวัฒน์. (2565). เรื่องเล่าแนวสยองขวัญในเฟซบุ๊กเพจ “เดอะเฮาส์”: การศึกษาเชิงปริจเฉทวิเคราะห์และวัจนปฏิบัติศาสตร์. วารสารภาษาและวรรณคดีไทย, 39(1), 138-203.

สุวรรณ เลียงหิรัญถาวร. (2550). ว่าด้วยเรื่อง “คำลงท้าย”. วารสารแม่โจ้ปริทัศน์, 8(4), 70-73.

อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2545). ภาษาในสังคมไทย: ความหลากหลาย การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนา. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อรพันธ์ บวรรักษา. (2544). ภาษาปาก. วรรณวิทัศน์, 1, 100–106.

LOLA [@lolitascak3]. (ม.ป.ป.). เธรดทวิตเตอร์ [บัญชีผู้ใช้ทวิตเตอร์]. ทวิตเตอร์. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มกราคม 2565, จาก https://twitter.com/lolitascak3

One Playground. (27 มกราคม 2563). ทำไมใคร ๆ ชอบว่าแอดแต่งตัว “เกินเบอร์”???. Facebook. https://www.facebook.com/One31Playground/photos/a.122501925849551/157335705699506/?locale=th_TH

ReviewHere. (28 กันยายน 2565). รีวิวทำไมเราถึงชอบฟังเรื่องคดีฆาตกรรมหรือเรื่องลึกลับ. Facebook. https://www.facebook.com/ReviewHereTH/posts/pfbid02ZY7SNKSVopi4CXy7fofajsXR57wTMdR3Vo482g4MdpFpRbppj3SBU9Co78UfCo38l

Asutay, H. (2013). Literature education with child detective stories. Procedia - Social and Behavioral Science, 89(2013), 368-376. https://doi.org/10.1016/j.sbspro.2013.08.862

Baker, M. (2011). In Other Words (2nd ed.). Routledge.

Halliday, M.A.K & Hasan, R. (1976). Cohesion in English. Longman.

Hymes, D. (1974). Foundations of sociolinguistics: An ethnographic approach. University of Pennsylvania Press.

Longacre, R.E. (1983). The grammar of discourse. Plenum Pr.

Stubbs, M. (1983). Discourse analysis: The sociolinguistics analysis of natural Language. Blackwell.