ทรรศนะของนักวรรณคดีสันสกฤตว่าด้วยตัวละครปรปักษ์

Main Article Content

นาวิน วรรณเวช

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทรรศนะของนักวรรณคดีสันสกฤตเกี่ยวกับตัวละครปรปักษ์จากตำราการประพันธ์สันสกฤตรวมทั้งอรรถกถา เนื่องจากเป็นแนวคิดที่ยังไม่เคยมีผู้ใดสำรวจไว้ ผลการวิจัยพบว่าแม้ว่าวรรณคดีสันสกฤตจะปรากฏตัวละครปรปักษ์ที่สำคัญหลายตัวก็ตาม แต่ตำราการประพันธ์สันสกฤตแสดงให้เห็นว่าตัวละครปรปักษ์เป็นตัวละครที่ไม่สำคัญในทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤตดังจะเห็นได้จากการใช้คำว่า “ประตินายกะ” ซึ่งเป็นการนำคำว่า “นายกะ” มาใช้เป็นตัวตั้ง และความคิดเกี่ยวกับลำดับการเล่าเรื่อง กล่าวคือ เรื่องของประตินายกะไม่ควรเล่าก่อนนายกะ ตำราต่างๆ มักไม่กล่าวถึงประตินายกะหรือหากกล่าวถึงก็เป็นการกล่าวโดยรวมว่าเป็นตัวละครฝ่ายตรงข้ามกับนายกะเท่านั้น นอกจากนี้เหตุผลสำคัญประการหนึ่งคือประตินายกะเป็นตัวละครที่ไม่เกี่ยวเนื่องกับศฤงคารรสเหล่านี้ทำให้ประตินายกะเป็นตัวละครไม่สำคัญในทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤตไปโดยปริยาย

Article Details

How to Cite
วรรณเวช น. (2015). ทรรศนะของนักวรรณคดีสันสกฤตว่าด้วยตัวละครปรปักษ์. วรรณวิทัศน์, 15, 30–51. https://doi.org/10.14456/vannavidas.2015.2
บท
บทความประจำฉบับ

References

กุสุมา รักษมณี. (2549). การวิเคราะห์วรรณคดีไทยตามทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เจตนา นาควัชระ. (2514). วรรณคดีวิจารณ์และการศึกษาวรรณคดี. ในวรรณไวทยากร. กรุงเทพมหานคร: โครงการตําราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย.

มณีปิ่น พรหมสุทธิรักษ์. (2551). ประวัติวรรณคดีสันสกฤต. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เสาวภา ธานีรัตน์. (2522). พระเอกในบทละครของกาลิทาส. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต แผนกวิชาภาษาตะวันออก บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Ballantyne, J.R. and Mitra, Pramada Dasa. (1994). The Sāhityadarpaṇa or Mirror of Composition of Viśvanātha. Delhi: Motilal Banarsidass.

Daṇḍin. (1911). Kāvyādarśaḥ (3rded). Calcutta: Paśupati.

Daṇḍin. (1996). Kāvyādarśaḥ (2nded). Varanasi: Chowkhamba Vidyabhawan.

Dhanañjaya (1865). Daśarūpaka. Calcutta: Baptist Mission Press.

Hariyappa, H.L. (1953). Ṛgvedic Legends Through The Ages. Poona: Deccan College Postgraduate & Research Institute.

Kale, M.R. (2005). Svapnavāsavadattā. Delhi: Motilal Banarsidass.

Kane, P.V. (1995). The Sāhityadarpaṇa (paricchedas 1, 2, 10 Arthālaṃkāras) with Exhaustive Notes (6thed). Delhi: Motilal Banarsidass.

Nagendra. (1987). A Dictionary of Sanskrit Poetics. Delhi: B.R. Publishing Corporation.

Monier-Williams, Monier. (2005). A Sanskrit–English Dictionary. Delhi: Motilal Banarsidass.

O’ Flaherty, Wendy Doniger. (1981). The Rig Veda. London: Penguin Books.

Viśvanātha. (1998). Sāhityadarpaṇa with Commentary. Dilli: Bhāratīya Buk Karporesan.

Winternitz, Maurice. (2008). History of Indian Literature. Vol. 3. Delhi: Motilal Banarsidass.