แนวทางการศึกษาพัฒนาการของคำหลายความหมายหรือคำหลายหน้าที่ในภาษาไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางการศึกษาพัฒนาการของคำหลายความหมายหรือคำหลายหน้าที่ในภาษาไทยด้วยวิธีการทางภาษาศาสตร์ผู้เขียนได้รวบรวมตัวอย่างข้อมูลจากงานวิจัยต่างๆ ที่ศึกษาพัฒนาการของคำในภาษาไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน พบว่ามี 3 รูปแบบ คือ (1) ลักษณะของข้อมูลภาษาที่แสดงให้เห็นพัฒนาการทั้งเส้นทาง (2) ลักษณะของข้อมูลภาษาที่แสดงให้เห็นพัฒนาการเฉพาะช่วงต้นและช่วงกลาง และ (3) ลักษณะของข้อมูลภาษาที่แสดงให้เห็นพัฒนาการเฉพาะช่วงกลาง (และช่วงท้าย) ข้อมูลรูปแบบที่ (1)ทและ (2) เอื้อประโยชน์ต่อการศึกษาพัฒนาการของคำโดยตรง ส่วนข้อมูลแบบที่ (3) พบว่าไม่เอื้อต่อการศึกษาพัฒนาการของคำ จึงอาจใช้แนวคิดทฤษฎีการกลายเป็นคำไวยากรณ์ การวิเคราะห์แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงจากความถี่ที่ปรากฏในแต่ละสมัย และการศึกษาเปรียบเทียบกับภาษาในตระกูลไท มาช่วยสันนิษฐานพัฒนาการของคำ
Article Details
References
กนกวรรณ วารีเขตต์. (2556). การกลายเป็นคําไวยากรณ์ของคําสรรพนามบุรุษที่ 1 ในภาษาไทยสมัยรัตนโกสินทร์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กรองกานต์ รอดพันธ์. (2540). “ถึง”: การศึกษาเชิงประวัติ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นพรัฐ เสน่ห์. (2556). การกลายเป็นคําไวยากรณ์ของคําว่า “ด้วย”. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปิ่นกาญจนา วัชรปาณ. (2548). “อยาก”: การศึกษาเชิงประวัติ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ไพทยา มีสัตย์. (2540). การศึกษาคําช่วยหน้ากริยาที่กลายมาจากคํากริยาในภาษาไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2556). Thai National Corpus คลังข้อมูลภาษาไทยแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2557, จาก http://www.arts.chula.ac.th/~ling/TNCII/corp.php
มิ่งมิตร ศรีประสิทธิ์. (2546). การศึกษาเชิงประวัติของคําว่า แล้ว อยู่ อยู่แล้ว. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่น.
วิภา วงศ์สันติวนิช. (2526). คํากริยาการีตในภาษาไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรีเนตร จรัสจรุงเกียรติ. (2551). “ยัง”: การศึกษาเชิงประวัติ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรีเนตร จรัสจรุงเกียรติ. (2555). พัฒนาการของคําว่า “เป็น” ในภาษาไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Brinton and Traugott. (2005). Lexicalization and Language Change. Cambridge: Cambridge University Press.
Heine, B., Claudi, U., and Hünnemeyer, F. (1991). Grammaticalization: A Conceptual Framework. Chicago: Chicago University press.
Heine, B., and Kuteva, T. (2007). The Genesis of Grammar: A Reconstruction. Oxford: Oxford University Press.
Hopper, P.J., and Traugott, E.C. (2003). Grammaticalization. Cambridge: Cambridge University Press.
Kurylowicz, J. (1965). The Evolution of Grammatical Categories. Diogeness 57, 55–71.
Strecker, D. (1984). Proto-Tai personal Pronouns. Doctoral dissertation, University of Michigan.