รสวรรณกรรมในสรรพสิทธิ์คำฉันท์

Main Article Content

ธงชัย แซ่เจีย

บทคัดย่อ

การศึกษารสวรรณกรรมในสรรพสิทธิ์คำฉันท์ที่ผ่านมายังให้คำอธิบายไม่ครอบคลุมรสวรรณกรรมทั้งหมดที่ปรากฏในตัวบท บทความนี้มุ่งพิจารณารสวรรณกรรมในสรรพสิทธิ์คำฉันท์โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับรสวรรณคดีตามทฤษฎีวรรณคดีบาลีและสันสกฤต ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าสรรพสิทธิ์คำฉันท์มีรสวรรณคดีครบทั้ง ๙ รส สามารถอธิบายรสวรรณกรรมได้แตกต่างจากการศึกษาที่เคยมีมา ทั้งยังแสดงถึงพระอัจฉริยลักษณ์ของผู้ทรงพระนิพนธ์ได้อีกทางหนึ่ง

Article Details

How to Cite
แซ่เจีย ธ. (2016). รสวรรณกรรมในสรรพสิทธิ์คำฉันท์. วรรณวิทัศน์, 13, 49–75. https://doi.org/10.14456/vannavidas.2013.3
บท
บทความประจำฉบับ

References

กุสุมา รักษมณี. (๒๕๔๙). การวิเคราะห์วรรณคดีไทยตามทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต (พิมพ์ครั้งที่ ๒). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศิลปากร, คณะโบราณคดี, ภาควิชาภาษาตะวันออก.

ชุติมา เลิศนันทกิจ. (มีนาคม ๒๕๕๕). ลักษณะของมหากาวยะในสรรพสิทธิ์คําาฉันท์. ใน พีระ พนารัตน์ (บรรณาธิการ), การข้ามวัฒนธรรมในวรรณกรรม. การประชุมวิชาการด้านมนุษยศาสตร์ระดับปริญญาตรี จุฬาฯ-ธรรมศาสตร์-เกษตรฯ ครั้งที่ ๑, อาคารมหาจักรีสิรินธรคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปรมานุชิตชิโนรส, สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระ. (๒๕๔๘). สรรพสิทธิ์คําาฉันท์. กรุงเทพมหานคร:คณะสงฆ์วัดพระเชตุพน.

พระคัมภีร์สุโพธาลังการ (แย้ม ประพัฒน์ทอง, ผู้แปล). (๒๕๑๒). (พิมพ์ครั้งที่ ๒). [ม.ป.ท.].

ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๔๖). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒.กรุงเทพมหานคร: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.

วาคฺภฏ. (๒๕๕๐). อลังการศาสตร์ (ป.ส.ศาสตรี, ผู้แปล). กรุงเทพมหานคร: กรมศิลปากร.

วิศาลดรุณกร, หลวง. (๒๔๖๖). ตำนานดาวฤกษ์. (ม.ป.ท.).

วีรชัย ปิยสุนทราวงษ์. (๒๕๒๔). การศึกษาเชิงวิเคราะห์สรรพสิทธิ์คำฉันท์กับสรรพสิทธิชาดก. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะอักษรศาสตร์,ภาควิชาภาษาไทย.

เอมอร ชิตตะโสภณ. (๒๕๑๓).พระนิพนธ์ประเภทฉันท์ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,คณะอักษรศาสตร์, แผนกวิชาภาษาไทย.