ตำราทักษากับการตั้งชื่อของคนไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
“ตำราทักษา” เป็นตำราการตั้งชื่อที่ได้รับความนิยมในสังคมไทย โดยจะนำความรู้ในตำราทักษามาใช้ตั้งชื่อบุคคลทั้งนามฉายาพระสงฆ์ พระนามเจ้านาย และชื่อบุคคลทั่วไป ทั้งนี้เป็นเพราะคนไทยให้ความสำคัญกับชื่อและเชื่อว่าชื่อที่ดีจะเป็นสิริมงคลช่วยให้เจ้าของชื่อมีชีวิตที่ดี มีความสุข
Article Details
References
ญาดา อรุณเวช. (๒๕๔๒). หลากหลายชื่อในชีวิต. กรุงเทพมหานคร: เพื่อนดี.
ทวี พลรัตน์, ชุมพล อนุกานนท์, และกัณหา ชาน้อย (ผู้รวบรวม). (๒๕๔๑).เอกสารประกอบการประชุมสัมมนาพระอุปัชฌาย์ โครงการประชุมสัมมนาพระอุปัชฌาย์ พ.ศ. ๒๕๔๑ (พิมพ์ครั้งที่ ๓). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา.
ธ. ธรรมศรี. (๒๕๑๙). คู่มือคู่สวดอุปัชฌาย์. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาบรรณาคาร.
ธรรมวโรดม, พระ. (๒๕๔๕). คู่มือพระอุปัชฌาย์ (พิมพ์ครั้งที่ ๗). กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการดําาเนินการฝึกซ้อมอบรมพระอุปัชฌาย์ส่วนกลาง.
ประพิษ สุทธบุตร์. (๒๕๑๓). คัมภีร์ทักษาเจ้าฟ้า. กรุงเทพมหานคร: เกษมบรรณกิจ.
ประสิทธ กิตติสิทโธ. (๒๕๓๓). ทฤษฎีการตั้งชื่อ.กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาบรรณาคาร.
พ. สุวรรณ. (๒๕๓๘). ตั้งชื่อดีมีความสุข.กรุงเทพมหานคร: สร้อยทอง.
พลูหลวง. (๒๕๔๖). ๗ ความเชื่อของไทย (คติสยาม) (พิมพ์ครั้งที่ ๒). กรุงเทพมหานคร: เมืองโบราณ.
พิทักษมนตรี, สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมหลวง. (๒๕๐๙). ลิลิตทักษาพยากรณ์.พระนคร: บรรณาคาร.
พิษณุ เพทางค์. (๒๕๒๗). ตำราพรหมชาติฉบับชาวบ้านและนรลักษณ์พยากรณ์ (พิมพ์ครั้งที่ ๖). กรุงเทพมหานคร: สำนักงานหอสมุดกลาง ๐๙.
ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๑๓). สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน (เล่ม ๑๐ ฉันท์-เชียงราย).กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
วิรัช ศิริวัฒนะนาวิน. (๒๕๔๔). การศึกษาการตั้งชื่อของคนไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร, บัณฑิตวิทยาลัย, สาขาวิชาภาษาไทย.
ศักดิเดช ถิรบุตร. (๒๕๓๙). เลข ๗ ตัว พยากรณ์ชีวิต. กรุงเทพมหานคร: กังหัน.
เศก ดุสิต. (๒๕๔๘). ชุมนุมทักษา.กรุงเทพมหานคร: มติชน.
ส. พลายน้อย. (๒๕๔๗). สิริมงคล. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์คำ.
ส. วัฒนเศรษฐ. (๒๕๑๐). ปทานุกรมการตั้งชื่อและนามสกุล. พระนคร: เกษมบรรณกิจ.
ส. ศิวรักษ์. (๒๕๓๗). โหราศาสตร์กับการพัฒนาประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: เคล็ดไทย.
สมชาย สำเนียงงาม. (๒๕๔๕).ลักษณะภาษาที่แสดงความเปลี่ยนแปลงของความเชื่อเกี่ยวกับสิริมงคลและกาลกิณีในชื่อของคนไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,คณะอักษรศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.
สารประเสริฐ, พระ. (๒๕๓๘). โลกธาตุ. กรุงเทพมหานคร: สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ.
สุภาพรรณ ณ บางช้าง. (๒๕๒๗). การใช้ภาษาในการตั้งชื่อของคนไทย. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เสฐียรพงษ์ วรรณปก. (๒๕๒๔). ชื่อนั้นสําาคัญไฉน. กรุงเทพมหานคร: ปิยะสาส์น.
_________. (๒๕๔๖). ศาสตร์และศิลป์แห่งการตั้งชื่อ(พิมพ์ครั้งที่ ๓). กรุงเทพมหานคร: ซันต้าการพิมพ์.
_________. (๒๕๕๐). ศาสตร์และศิลป์แห่งการตั้งชื่อ แนะวิธีตั้งชื่อตามหลักทักษาและตามตำราเลขศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ ๕). นครปฐม: ระฆังทอง.
โสฬสเวท. (๒๕๒๕). มงคลนามและการตั้งชื่อ.กรุงเทพมหานคร: แพร่พิทยา.
อำนาจ ปักษาสุข. (๒๕๕๐). การศึกษาการตั้งนามฉายาของพระสงฆ์ไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร, บัณฑิตวิทยาลัย, สาขาวิชาภาษาไทย.
_________. (๒๕๕๒). กลวิธีการตั้งนามฉายาของพระสงฆ์ไทย. อักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๑๑ (ฉบับที่ ๑), ๒๔๗-๒๗๙