การเขียนโฆษณา: กลวิธีการใช้ภาษาพาดหัวและคำขวัญ

Main Article Content

พนมพร นิรัญทวี

บทคัดย่อ

ชิ้นงานโฆษณาแต่ละชิ้นจะมีส่วนประกอบของภาษาที่สำคัญ ๒ ส่วน คือ ส่วนที่เป็นวัจนภาษาและส่วนที่เป็นอวัจนภาษา ส่วนที่เป็นวัจนภาษาอันหมายถึงภาษาถ้อยคำที่ใช้สื่อสารนั้นจะมีลักษณะเฉพาะที่ใช้กันในธุรกิจกการขายสินค้า ผู้ที่สร้างสรรค์ภาษาโฆษณาจะต้องรู้ถึงความต้องการของผู้บริโภค ต้องรู้จักจุดเด่นของสินค้า ต้องรู้จักใช้กลวิธีสร้างความสนใจให้เกิดขึ้นกับผู้บริโภค รวมทั้งให้ติดตาติดใจจนจำได้และนำไปสู่การซื้อสินค้าในที่สุด


บทความเรื่องนี้ ผู้เขียนเลือกกล่าวเฉพาะกลวิธีการใช้ภาษาในส่วนประกอบที่สำคัญของวัจนภาษา ได้แก่ พาดหัวโฆษณาและคำขวัญ เนื่องจากเห็นว่าเป็นส่วนสำคัญที่จะต้องอาศัยศิลปะการใช้ถ้อยคำเป็นพิเศษ

Article Details

How to Cite
นิรัญทวี พ. (2016). การเขียนโฆษณา: กลวิธีการใช้ภาษาพาดหัวและคำขวัญ. วรรณวิทัศน์, 1, 55–70. https://doi.org/10.14456/vannavidas.2001.4
บท
บทความประจำฉบับ

References

จรัญญา ดีบุญมี ณ ชุมแพ และวีระเกียรติ รุจิรกุล. ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, ๒๕๓๕.

ฉัตรา บุนนาค สุวรรณี อุดมผล และวรรณี พุทธเจริญทอง. ศิลปะการใช้ภาษาไทยในชีวิตประจำวันและทางธุรกิจ. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ: ประกายพรึก, ๒๕๒๙.

พนมพร นิรัญทวี. "การโฆษณา." ตำราประกอบการสอนวิชาภาษาไทยธุรกิจ. ภาควิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๔๐.

วนิดา เสนีเศรษฐ และคณะ. ภาษาไทยธุรกิจ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, ๒๕๓๐.

วิไลวรรณ ขนิษฐานนันท์. "ลักษณะภาษาที่ใช้ผ่านสื่อมวลชนโทรทัศน์." ธรรมศาสตร์วิชาการ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๓๗.

อวยพร พานิช. การใช้ภาษาเพื่อการโฆษณา. [ม.ป.ท.], [ม.ป.ป.], ๒๕๓๐.