ว่าด้วยความหมายของคำไทยปัจจุบัน

Main Article Content

ปองจิต อ่อนเผ่า

บทคัดย่อ

การใช้ภาษาไทยในปัจจุบันมีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทั้งในการพูดและการเขียน บทความนี้ได้นำเสนอแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในส่วนของความหมายของคำที่ทำให้เกิดความกำกวมในภาษาเพื่อเป็นตัวอย่างให้ผู้ใช้ภาษาทุกคนได้ตระหนักถึงผลของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวที่มีต่อภาษาไทยของเรา

Article Details

How to Cite
อ่อนเผ่า ป. (2016). ว่าด้วยความหมายของคำไทยปัจจุบัน. วรรณวิทัศน์, 1, 145–153. https://doi.org/10.14456/vannavidas.2001.10
บท
บทความประจำฉบับ

References

แจ๋วริมจอ [นามแฝง]. "แก้แล้วดับ." ไทยรัฐ, ๗ เมษายน ๒๕๔๔, หน้า ๓๗.

ซูม [นามแฝง]. "อาหารยามยาก." ไทยรัฐ, ๒๐ มีนาคม ๒๕๔๔, หน้า ๕.

นิตยา กาญจนะวรรณ. ภาษาไทย ๒๐๐. กรุงเทพฯ: มติชน, ๒๕๔๓.

ปรีชา ช้างขวัญยืน. วิพากษ์การใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๐.

เปลื้อง ณ นคร. ภาษาวรรณนา. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: บริษัทข้างฟ่างจำกัด, ๒๕๔๒.

ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์, ๒๕๓๙.

ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรม: ภาพพจน์ โวหาร และกลการประพันธ์. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน. ๒๕๓๙.

ลม เปลี่ยนทิศ [นามแฝง]. "ภาษาสมัยในเทศกาลเลือกตั้ง." สกุลไทย, ๔๗ (ธันวาคม, ๒๕๔๓) ๔๗, ๙๖.

สุรัตน์ ศรีราษฎร์ และคณะอื่นๆ. "การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร." การใช้ภาษาไทย ๑. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๔๓.

อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. ภาษาไทยนอกจอ. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์, ๒๕๔๒.

อุปกิตศิลปสาร, พระยา. หลักภาษาไทย. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. ๒๕๔๑.