ลักษณะการเสนอสารในข้อความโฆษณาในหนังสือพิมพ์ภาษาไทยระหว่าง พ.ศ. 2387-2487
Main Article Content
บทคัดย่อ
ลักษณะการเสนอสารในข้อความโฆษณาในหนังสือพิมพ์ไทยระหว่าง พ.ศ.๒๓๘๗ - พ.ศ.๒๔๘๗ ปรากฎลักษณะการเสนอสาร ๗ วิธี ดังนี้ การเสนอสารด้วยการบอกกล่าว การเสนอสารด้วยการอธิบาย การเสนอสารด้วยการบรรยาย การเสนอสารด้วยการใช้บทสนทนา การเสนอสารด้วยการใช้บทร้อยกรอง และการเสนอสารด้วยการโน้มน้าวใจ
Article Details
References
จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ. เอกสารประกอบการสอนวิชา ๔๑๑ ๒๐๕ การเขียนเพื่อธุรกิจและสังคม. ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๘. (อัดสำเนา).
ปรีชา ช้างขวัญยืน. ศิลปการเขียนชุดพื้นฐานของการใช้ภาษาเล่ม ๒. กรุงเทพฯ: วิชาการ, ๒๕๒๘.
พรทิพย์ บุญยงค์. "การเสนอสารในข้อความโฆษณาในหนังสือพิมพ์ภาษาไทยระหว่าง พ.ศ.๒๓๘๗-พ.ศ.๒๔๘๗." วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๙.
ราชเลขาธิการ, สำนัก. จดหมายเหตุบางกอกรีคอร์เดอร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อัมรินทร์พริ้นติ้ง, ๒๕๓๗.
รุ่งนภา พิตรปรีชา. เอกสารชุดการสอนวิชาหลักการโฆษณาและประชาสัมพันธ์หน่วยที่ ๑-๗. พิมพ์ครั้งที่ ๒. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๒๙.
วัลยา ช้างขวัญยืน. หน่วยที่ ๒ ลักษณะภาษาเขียนเอกสารการสอนชุดวิชาการอ่านภาษาไทย หน่วยที่ ๑-๗. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๓๔.
วินิตา ดีถียนต์. เอกสารคำสอนวิชาวรรคดีวิจารณ์. ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๓๗. (อัดสำเนา).
วิชาการ, กรม กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรียนภาษาพิจารณ์ เล่ม ๑. พิมพ์ครั้งที่ ๑๐. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา, ๒๕๓๖.
วิไลวรรณ ขนิษฐานนท์. ภาษาและภาษาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ ๕. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๓๓.
เสรี วงษ์มณฑา. กว่าจะเป็นโฆษณา. กรุงเทพฯ: เรือนแก้ว, ม.ป.ป.
เอนก นาวิกมูล. โฆษณาไทยสมัยแรก. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ: แสงแดด, ๒๕๓๓.
เอนก นาวิกมูล. โฆษณาคลาสสิค. กรุงเทพฯ: โนรา, ๒๕๓๘.
อวยพร พานิช และอุบลวรรณ ปิติพัฒนโฆษิต. "รายงานผลการวิจัยวิวัฒนาการภาษาโฆษณาในหนังสือพิมพ์ไทย ปี พ.ศ.๒๓๘๗-๒๕๒๗". ม.ป.ท., ๒๕๒๘.