ความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการบัญญัติศัพท์

Main Article Content

เยาวลักษณ์ กระแสสินธุ์

บทคัดย่อ

การบัญญัติศัพท์มีทั้งวิธีการคิดคำขึ้นใหม่ การทับศัพท์ และการแปลศัพท์ แต่การจะกล่าวว่าวิธีใดเป็นวิธีที่ดีที่สุดคงจะไม่ได้ เพราะต้องคำนึงถึงความเหมาะสมเป็นประการสำคัญ รวมถึงศัพท์บัญญัติเหล่านั้นจะต้องมีความหมายตรงกับรูปศัพท์เดิม และทำนองเสียง หรือลำนำจังหวะของคำจะต้องเหมาะสมกับ "อัจฉริยลักษณะของภาษา" อีกด้วย

Article Details

How to Cite
กระแสสินธุ์ เ. (2016). ความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการบัญญัติศัพท์. วรรณวิทัศน์, 2, 148–153. https://doi.org/10.14456/vannavidas.2002.13
บท
บทความประจำฉบับ

References

กัลยาณิวัฒนา, สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้า. "ปาฐกถานำจากการสัมมนาเรื่องการใช้ภาษาไทยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์." วารสารราชบัณฑิตยสถาน, ๑๑ (มกราคม-มีนาคม, ๒๕๒๙), ๔-๑๑.

ชวน หลีกภัย. "การใช้ภาษาแพทย์ในทัศนะของประชาชน," วารสารราชบัณฑิตยสถาน ๑๑ (ตุลาคม - ธันวาคม, ๒๕๒๘), ๕-๑๔.

นราธิปพงศ์ประพันธ์, พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่น. งานบัญญัติศัพท์ของพลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์. ธนาคารกรุงเทพจำกัด พิมพ์ถวายเป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงพระศพ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์พิฆเณศ, ๒๕๑๙.

นิตยา กาญจนะวรรณ. ภาษาไทยไฮเทค. กรุงเทพฯ: แอด พับลิชชิ่ง, ๒๕๓๕.

บุญยงค์ เกศเทศ. "โครงสร้างของคำและการบัญญัติศัพท์." วิเคราะห์หลักภาษาและแบบเรียนหนังสือไทย ตอนที่ ๖. ศูนย์เอกสารและตำรา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม, ๒๕๒๑.

บุญเสริม ฤทธาภิรมย์. อธิบายคำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, ๒๕๒๒.

ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์, ๒๕๒๕.

วิชาการ, กรม กระทรวงศึกษาธิการ. ประมวลศัพท์บัญญัติวิชาการศึกษา. พระนคร: โรงพิมพ์คุรุสภา, ๒๕๑๘.

วิสามัญศึกษา, กรม กระทรวงศึกษาธิการ. ประมวลศัพท์บัญญัติวิชาการศึกษา. พระนคร: โรงพิมพ์คุรุสภา, ๒๕๐๓.

สนั่น ปัทมะทิน. ภาษาไทยที่สื่อมวลชนอาจใช้พลาด. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, ๒๕๓๕.