ภาษาที่ใช้ในการตั้งชื่อของชาวไทลื้อ 2 กลุ่มอายุ ที่อำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา

Main Article Content

พรทิพย์ เฉิดฉินนภา

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาษาที่ใช้ในการตั้งชื่อของชาวไทลื้อ โดยเก็บข้อมูลชื่อของชาวไทลื้อที่อำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา 2 กลุ่มอายุ ได้แก่ กลุ่มอายุ 50 ปีขึ้นไป และกลุ่มอายุ 1 - 40 ปี จำนวนกลุ่มละ 600 ชื่อ รวมชื่อที่ใช้ในการศึกษา 1,200 ชื่อ ผลการศึกษาพบว่าชื่อของชาวไทลื้อกลุ่มอายุ 50 ปีขึ้นไป มี 4 แบบ คือ แบบ 1 - 4 พยางค์ โดยชื่อที่ใช้ 2 พยางค์พบมากที่สุด สำหรับชื่อชาวไทลื้อกลุ่มอายุ 1 - 40 ปี มี 5 แบบ คือ แบบ 1 - 5 พยางค์ โดยชื่อที่ใช้ 3 พยางค์พบมากที่สุด ด้านภาษาที่ใช้ในการตั้งชื่อของชาวไทลื้อกลุ่มอายุ 50 ปีขึ้นไป 3 ลำดับแรกได้แก่ ภาษาไท ภาษาบาลีสันสกฤต และภาษาไทประสมกับภาษาบาลีสันสกฤต ตามลำดับ ส่วนภาษาที่ใช้ในการตั้งชื่อของชาวไทลื้อกลุ่มอายุ 1 - 40 ปี 3 ลำดับแรกได้แก่ ภาษาบาลีสันสกฤต ภาษาไท และภาษาไทประสมกับภาษาบาลีสันสกฤต ตามลำดับ

Article Details

How to Cite
เฉิดฉินนภา พ. (2016). ภาษาที่ใช้ในการตั้งชื่อของชาวไทลื้อ 2 กลุ่มอายุ ที่อำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา. วรรณวิทัศน์, 14, 83–106. https://doi.org/10.14456/vannavidas.2014.4
บท
บทความประจำฉบับ

References

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (๒๕๒๕). พจนานุกรมภาษาไทยเปรียบเทียบกรุงเทพ เชียงใหม่ ไทยลื้อ ไทยดำ. ม.ป.ท.

จริญญา ธรรมโชโต. (๒๕๔๐). การศึกษาภาษาที่ใช้ในการตั้งชื่อเล่นของคนไทยในเขตอำเภอเมือง จังหวัดตรัง. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาภาษาศาสตร์.

จรูญศรี มูลสวัสดิ์. (๒๕๓๕). การใช้ภาษาในการตั้งชื่อของชาวล้านนาในจังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหิดล, สาขาวิชาภาษาศาสตร์.

จารุวรรณ พรมวัง. (๒๕๓๖). การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมบางประการของชาวไทลื้อ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สาขาวิชามานุษยวิทยา.

เจริญ มาลาโรจน์, ศักดิ์นรินทร์ ชาวงิ้ว และยุทธการ ขันชัย. (๒๕๕๑). พจนานุกรมคำเมือง. กรุงเทพฯ: ริช.

ชมพูนุท โพธิ์ทองคำ. (๒๕๔๑). การตั้งชื่อของชาวกะเหรี่ยงโป ตำบลสวนผึ้ง อำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหิดล, สาขาวิชาภาษาศาสตร์.

ชวินทร์ สระคำ และจำลอง สารพัดนึก. (๒๕๓๘). พจนานุกรม บาลี-ไทย (พิมพ์ครั้งที่ ๓). กรุงเทพฯ: ประยูรวงศ์พริ้นติ้ง.

ณัฐพงษ์ เบ็ญชา. (๒๕๔๓). ลักษณะของภาษาไทลื้อที่บ้านทุ่งมอก ตำบลบ้านมาง อำเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร, สาขาวิชาจารึกภาษาไทย.

นันทนา รณเกียรติ. (๒๕๓๑). ลักษณะการตั้งชื่อเล่นในภาษาไทย. ภาษาและภาษาศาสตร์, (๖), ๕๐-๖๒.

ประชัน รักพงษ์. (๒๕๓๕). การศึกษาหมู่บ้านไทลื้อในจังหวัดลำปาง. ลำปาง: กิจเสรีการพิมพ์.

ประชัน รักพงษ์. (๒๕๔๒). "ลื้อ." สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือง. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, น. ๖๐๑๙-๖๐๓๐.

ประยูร ทรงศิลป์. (๒๕๒๖). การเปลี่ยนแปลงของภาษา: คำยืมในภาษาไทย. วิทยาลัยครูธนบุรี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชาภาษาไทย.

แปลก ศิลปกรรมพิเศษ. (๒๕๒๙). พจนานุกรมคำพ้องไทย-มลายู. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว.

พนมพร นิรัญทวี. (๒๕๔๕). คำยืมในภาษาไทย (ท.๓๒๑). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาภาษาไทย.

มณี พยอมยงค์. (๒๕๒๓). พจนานุกรมลานนาไทย. ม.ป.ท.

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (๒๕๒๕). พจนานุกรมภาษาไทยเปรียบเทียบกรุงเทพฯ เชียงใหม่ ไทยลื้อ ไทยดำ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, คณะมนุษยศาสตร์.

รพีพร รักมนุษย์. (๒๕๓๘). การใช้ภาษาของชาวไทลื้อในหมู่บ้านเชียงบาน ตำบลเชียงบาน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา: การศึกษาทางมนุษยคดีด้านการพูด. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๔๖). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คพับลิเคชั่นส์.

เรืองเดช ปันเขื่อนขัติย์. (๒๕๓๑). ภาษาถิ่นตระกูลไทย (พิมพ์ครั้งที่ ๒). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.

วรางคณา สว่างตระกูล. (๒๕๔๐). การศึกษาภาษาที่ใช้ในการตั้งชื่อจริงของคนไทยในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สาขาวิชาภาษาศาสตร์.

วิไลภรณ์ พานอ่อง. (๒๕๔๒). "พะเยา, จังหวัด." สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, น. ๔๖๓๕-๔๖๔๔.

สมใจ แซ่โคว้ และวีระพงศ์ มีสถาน. (๒๕๔๑). สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์ไทยลื้อ. กรุงเทพฯ: สหธรรมิก.

สุภัคสร วรรณปลูก. (๒๕๕๕). เอกสารบรรยายสภาพทั่วไปของบ้านสบบง. ม.ป.พ.: ม.ป.ท.

สุภาพรรณ ณ บางช้าง. (๒๕๒๗). การใช้ภาษาในการตั้งชื่อของคนไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และคณะ. (๒๕๔๗). แผนที่ภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

อุดม รุ่งเรืองศรี (ผู้รวบรวม). (๒๕๔๗). พจนานุกรมล้านนา-ไทย ฉบับแม่ฟ้าหลวง เล่ม ๑. เชียงใหม่: โรงพิมพ์มิ่งเมือง.

อุดม รุ่งเรืองศรี (ผู้รวบรวม). (๒๕๔๗). พจนานุกรมล้านนา-ไทย ฉบับแม่ฟ้าหลวง เล่ม ๒. เชียงใหม่: โรงพิมพ์มิ่งเมือง.

กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร. ข้อมูลทั่วไปจังหวัดพะเยา: ประวัติศาสตร์ความเป็นมา. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๔, จาก http://www.phayao.go.th/au/history.php

แผนที่จังหวัดพะเยา. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๕, ดัดแปลงจาก http://cssckmutt.in.th/demo_pvgis/PVsystems/images/map/NN33P.jpf

แผนที่จังหวัดพะเยา. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๕, ดัดแปลงจาก http://previously.doae.go.th/prompt/2552/090305_02/Disc01/MAIN/PY/Map/fPY_08.jpg

รู้จักพะเยา. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๕, จาก http://www.visitphayao.com/th/info/history

กมล ไชยติขะ. สัมภาษณ์, ๒๐ เมษายน ๒๕๕๕.

แก้ว ปิงสุแสน. สัมภาษณ์, ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๕.

จ้อย วงศ์ใหญ่. สัมภาษณ์, ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๕.

จันทร์เพ็ญ จันกิเสน. สัมภาษณ์, ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๕.

จำตุ่ง จันกิเสน. สัมภาษณ์, ๗ พฤษภาคม ๒๕๕๕.

เจษฑา รวมสุข. สัมภาษณ์, ๙ สิงหาคม ๒๕๕๕.

นิตยา รวมสุข. สัมภาษณ์, ๒๕ ธันวาคม ๒๕๕๕.

บัวคำ ธนะปาน. สัมภาษณ์, ๖ พฤษภาคม ๒๕๕๕.

บาง ใจคำสุข. สัมภาษณ์, ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๕.

บุญธรรม ยี่สิบแสน. สัมภาษณ์, ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๕.

พร ใจคำสุข. สัมภาษณ์, ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๕.

พระครูวิธาน พิพัฒนกิจ, เจ้าอาวาสวัดสบบง. สัมภาษณ์, ๕ พฤษภาคม ๒๕๕๕.

พระสุจันต์ชนะ รวมสุข. สัมภาษณ์, ๕ พฤษภาคม ๒๕๕๕.

มณเฑียร คงคำเปา. สัมภาษณ์, ๒๕ ธันวาคม ๒๕๕๕.

มณี จันกิเลน. สัมภาษณ์, ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๕.

ลาวัลย์ ใจคำสุข. สัมภาษณ์, ๖ พฤษภาคม ๒๕๕๕.

วันเพ็ญ รวมสุข. สัมภาษณ์, ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๕.

ศิริวรรณ นามวงศ์. สัมภาษณ์, ๘ สิงหาคม ๒๕๕๕.

สมชาย วงศ์ใหญ๋. สัมภาษณ์, ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๕.

สมพน พึ่งพวก. สัมภาษณ์, ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๕.

สุภัคสร วรรณปลูก. สัมภาษณ์, ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๕.

แสงตาล สบบง. สัมภาษณ์, ๒๕ ธันวาคม ๒๕๕๕.

หมั้น จันกิเสน. สัมภาษณ์, ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๕.

อำนวย อำขำ. สัมภาษณ์, ๗ สิงหาคม ๒๕๕๕.