รองเท้าในวรรณคดีไทย

Main Article Content

ณัฐา ค้ำชู

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นการศึกษาบทบาทของรองเท้าที่ปรากฏในวรรคดีไทย 8 เรื่อง ผลการศึกษาพบว่า รองเท่าในมโนทัศน์ของคนไทยเป็นสิ่งของสำคัญ โดยสะท้อนผ่านบทบาทที่มีความสัมพันธ์กับตัวละครเอกและชนชั้นกษัตริย์ ในฐานะเป็นเครื่องประดับเกียรติยศและเป็นของวิเศษ ซึ่งมีส่วนเหมือนและแตกต่างจากอนุภาครองเท้าในดัชนีนิทานของสติธ ทอมป์สัน อันแสดงให้เห็นถึงความเป็นสากลและลักษณะเฉพาะของรองเท้าในวัฒนธรรมไทย

Article Details

How to Cite
ค้ำชู ณ. (2016). รองเท้าในวรรณคดีไทย. วรรณวิทัศน์, 14, 130–149. https://doi.org/10.14456/vannavidas.2014.6
บท
บทความประจำฉบับ

References

กองบรรณาธิการ. (๖ พฤษภาคม ๒๕๕๐). รองเท้ามีประวัติศาสตร์. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๕, จาก http://www.thaipost.net/index.asp

เครืองราชกกุธภัณฑ์. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๕, จาก http://www.tv5.co.th/service/mod/heritage/king/benjaraj

ไตรภูมิพระร่วงของพระญาลิไทย (พิมพ์ครั้งที่ ๒). (๒๕๔๖). กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา.

ไทยรัฐ ซันเดย์ สเปเซียล. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๕, จาก http://www.dek-d.com/board/view/937526

ปัญญาสชาดกฉบับหอสมุดแห่งชาติ เล่ม ๑ (พิมพ์ครั้งที่ ๒). (๒๕๔๙). กรุงเทพฯ: ศิลปาบรรณาคาร.

ปัญญาสชาดกฉบับหอสมุดแห่งชาติ เล่ม ๒ (พิมพ์ครั้งที่ ๒). (๒๕๔๙). กรุงเทพฯ: ศิลปาบรรณาคาร.

พระสนอง วงศ์สิงห์ทอง. (๒๕๔๗). ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องแต่งกาย. กรุงเทพฯ: อินฟอร์มีเดียอินเตอร์เนชั่นแนล.

พวงผกา คุโรวาท. (๒๕๓๕). คู่มือประวัติเครื่องแต่งกาย (พิมพ์ครั้งที่ ๔). กรุงเทพฯ: แผนกวิชาผ้าและเครื่องแต่งกาย สาขาคหกรรมศาสตร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตพระนครใต้.

รองเท้า. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๕, จาก http://www.dhammathai.org/Buddhistdic

รองเท้าสมุนไพรจากผักตบชวา. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๗, จาก http://souvenirbuu.wordpress.com/ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย/ภูมิปัญญาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ/ผ้าและเครื่องแต่งกาย/รองเท้าสมุนไพรจากผักตบ

ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๕๖). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ (พิมพ์ครั้งที่ ๒). กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.

วัชราภรณ์ พัฒนศิริ. (๒๕๔๒). วิเคราะห์วรรณกรรมประเภทนิทานประโลมโลกของจังหวัดสุราษฎร์ธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สมาคมรองเท้าไทย. (๒๕๔๐). คุณทราบไหมว่ารองเท้ามีประวัติเป็นมาอย่างไร. ใน วารสารครบรอบ ๒๐ ปี สมาคมรองเท้าไทย. ม.ป.พ.

สมุนไพรและสรรพคุณต่างๆ มากกว่า ๑๐๐ ชนิด. (๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๕). ผักตบชวา. สืบค้นเมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๗, จาก http://www.thaiherbfood.com/ผักตบชวา.html

สำนวน งามสุข. (๒๕๐๔). เกล็ดจากวรรณดคี. พระนคร: แพร่พิทยา.

หอสมุดแห่งชาติท่าวาสุกรี กรุงเทพมหานคร. (ม.ป.ป.). มหาชมภูบดีสูตร เลขที่ ๔๓๗. สมุดไทยขาว อักษรไทย เส้นหมึก.

หอสมุดแห่งชาติรัชมังคลาภิเษก จังหวัดจันทบุรี. (ม.ป.ป.). ชมพูบดีสูตร ผูก ๑ เลขที่ จบ.บ ๑๙๖/๑. คัมภีร์ใบลาน อักษรขอม ภาษาบาลี-ไทย เส้นจาร.

อรพิมพ์ บุญอาภา. (๒๕๒๔). นาคในวรรณคดีสันสกฤตและบาลี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาภาษาตะวันออก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อุดม รุ่งเรืองศรี. (๒๕๒๓). เทวดาพุทธ. เชียงใหม่: ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

เอื้อนทิพย์ พีระเสถียร. (๒๕๒๙). การศึกษาเชิงวิเคราะห์แบบเรื่องและอนุภาคในปัญญาสชาดก. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Thompson, S. (1996). Motif-Index of Floklore-Literature Vol.VI (Second Printing). Bloomington & London: Indiana University Press.