แนวคิดเรื่องโลกศาสตร์ในคัมภีร์โลกทีปกสารและจักกวาฬทีปนี

Main Article Content

สุนทรี โชติดิลก

บทคัดย่อ

บทความเรื่องนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาวิเคราะห์คัมภีร์โลกปีปกสารและจักกวาฬทีปนี ในด้านโลกศาสตร์ เพื่อเป็นการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโลกศาสตร์ตามคติตามพระพุทธศาสนา


ผลการศึกษาพบว่า โลกศาสตร์ในคัมภีร์โลกทีปกสารและจักกวาฬทีปนีประกอบไปด้วย โอกาสโลก สังขารโลก และสัตว์โลก โอกาสโลก คือ เปลือกโลกส่วนที่เป็นน้ำ และเปลือกโลกส่วนที่เป็นแผ่นดิน ส่วนสังขารโลก ก็คือ ส่วนของโลกที่สามารถพินาศได้ด้วยไฟ ด้วยน้ำ และด้วยลม ส่วนสัตว์โลก เป็นส่วนที่กล่าวถึงสิ่งที่อยู่ในโลกอันประกอบด้วย ทุคติภูมิ มนุษย์ภูมิซึ่งรวมถึงการกำเนิดโลกและสุคติภูมิ

Article Details

How to Cite
โชติดิลก ส. (2016). แนวคิดเรื่องโลกศาสตร์ในคัมภีร์โลกทีปกสารและจักกวาฬทีปนี. วรรณวิทัศน์, 11, 61–89. https://doi.org/10.14456/vannavidas.2011.4
บท
บทความประจำฉบับ

References

กมล ฉายาวัฒนะ, และสันติ เล็กสุขุม. (๒๕๒๔). จิตรกรรมฝาผนังสมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ: เจริญวิทยาการพิมพ์.

กุสุมา รักษมณี. (๒๕๔๙). การวิเคราะห์วรรณคดีไทยตามทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร จำกัด.

ธรรมธิเบศ, เจ้าฟ้า. (๒๕๕๐). พระมาลัยคำหลวง. กรุงเทพฯ: สุโขทัยธรรมาธิราช.

นิยะดา เหล่าสุนทร. (๒๕๔๐). ภูมิปัญญาของคนไทย: ศึกษาจากวรรณกรรมคำสอน. กรุงเทพฯ: ทุนส่งเสริมกลุ่มวิจัย-เมธีวิจัยอาวุโส สกว.

ประยุทธ์ ปยุตโต. (๒๕๓๓). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พรเพ็ญ ฮั่นตระกูล, และอัจฉราพร กมุทพิสมัย. (๒๕๒๗). "ความเชื่อพระศรีอาริย์" และ "กบฎผู้มีบุญ" ในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์.

พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต ภาค ๖ เล่มที่ ๑ (พิมพ์ครั้งที่ ๔). (๒๕๒๕). กรุงเทพฯ: กรมศาสนา.

พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค-ยักขสังยุต เล่ม ๗ (พิมพ์ครั้งที่ ๔). (๒๕๒๕). กรุงเทพฯ: กรมศาสนา.

พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ เล่ม ๑๙ (พิมพ์ครั้งที่ ๔). (๒๕๒๕). กรุงเทพฯ: กรมศาสนา.

ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๔๔). พจนานุกรมศัพท์วรรณคดีไทย สมัยสุโขทัย ไตรภูมิกถา. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.

ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๔๕). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.

วินัย พงศ์ศรีเพียร. (๒๕๔๙). ภาษาอัชฌาไศรย. กรุงเทพฯ. กองทุนพลโทดำเนิร เลขะกุล เพื่อประวัติศาสตร์.

ศิลปากร, กรม. (๒๕๔๘). จกกวาฬทีปนี. กรุงเทพฯ: สำนักหอสมุดแห่งชาติ.

ศิลปากร, กรม. (๒๕๔๘). โลกทีปกสาร. กรุงเทพฯ: สำนักหอสมุดแห่งชาติ.

สุภาพรรณ ณ บางช้าง. (๒๕๒๖). ประวัติวรรณคดีบาลีในอินเดียและลังกา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อิราวดี ไตลังคะ. (๒๕๔๓). ศาสตร์และศิลป์แห่งการเล่าเรื่อง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

อุดม รุ่งเรืองศรี, และสดุภณ จังกาจิตต์. (๒๕๒๐). ไตรภุมม์ (ไตรภูมิฉบับล้านนา). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.