โชคดีที่เป็นมะเร็ง: การศึกษาเรื่องเล่าและบทบาทหน้าที่ของบันทึกผู้ป่วยโรคมะเร็ง

Main Article Content

อรสุธี ชัยทองศรี

บทคัดย่อ

บันทึกประสบการณ์ส่วนบุคคลของผู้ป่วยโรคมะเร็งมีลักษณะเป็นเรื่องเล่าของผู้ป่วยโรคมะเร็งซึ่งมีบทบาทหน้าที่ในการสร้างภาพตัวแทนให้แก่ผู้ป่วยโรคมะเร็งในการตอบโต้ภาพลักษณ์แบบเหมารวมของผู้ป่วยโรคมะเร็งที่วาทกรรมกระแสหลักต่าง ๆ มอบให้ นอกจากนี้ยังทำหน้าที่เยียวยาผู้เล่าในฐานะผู้ป่วยโรคมะเร็งให้สามารถยอมรับสภาวการณ์การป่วยของตนเองได้อย่างเต็มใจ

Article Details

How to Cite
ชัยทองศรี อ. (2016). โชคดีที่เป็นมะเร็ง: การศึกษาเรื่องเล่าและบทบาทหน้าที่ของบันทึกผู้ป่วยโรคมะเร็ง. วรรณวิทัศน์, 11, 108–135. https://doi.org/10.14456/vannavidas.2011.6
บท
บทความประจำฉบับ

References

กฤติกา โภคากร. (๒๕๒๘). เรื่องเล่า: การเยียวยาผู้หญิงชนชั้นกลางที่ถูกข่มขืน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสตรีศึกษา สำนักบัณฑิตอาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ชูเกียรติ อุทกะพันธ์ุ. (๒๕๔๕). มะเร็งขึ้นสมอง (พิมพ์ครั้งที่ ๓). กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

เชิด ทรงศรี. (๒๕๔๖). นั่งคุยกับความตาย (พิมพ์ครั้งที่ ๕). กรุงเทพฯ: มติชน.

ธันย์ โสภาคย์. (๒๕๔๓). เมื่อหมอเป็นมะเร็ง (พิมพ์ครั้งที่ ๓). กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

นันทกานต์ ฤทธิวงศ์. (๒๕๔๖). ๓๖๕ วันมหัศจรรย์ ของ หนุ่ย นันทกานต์. กรุงเทพฯ: สามสี.

เบญจวรรณ กำธรวัชระ. (๒๕๔๔). มะเร็งต้องสู้. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี.

ปัญญา ฤกษ์อุไร. (๒๕๔๓). มะเร็งหัวเราะ. นนทบุรี: บ้านหนังสือ.

ภารุ้ง. (๒๕๔๖). พิชิตมะเร็งด้วยใจ (พิมพ์ครั้งที่ ๔). กรุงเทพฯ: หมอชาวบ้าน.

วรฑา วัฒนะชยังกูร. (๒๕๔๙). มองชีวิตผ่านมะเร็ง (พิมพ์ครั้งที่ ๑๐). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์นิตยสารแพรว.

ศิริลักษณ์ อุ่นตรงจิตร. (๒๕๔๙). เนื้อร้ายกลายเป็นดี. กรุงเทพฯ: ลอดช่อง.

สุจิรา จรัสศิลป์. (๒๕๔๑). มะเร็งที่รัก. นนทบุรี: พุทธอเนกประสงค์.

สุดรัก สุวรรณชัยรบ. (๒๕๔๙). ฉันไม่ได้ป่วย แค่เป็นมะเร็ง. กรุงเทพฯ: ปริณาม.

สุดาทิพย์ เปี่ยมมิตร. (๒๕๔๑). มุมมองของชีวิตที่ผ่านพ้นโรคมะเร็ง. กรุงเทพฯ: ศยาม.

สุภาพร พงศ์พฤกษ์. (๒๕๔๐). เมื่อฉันรู้ว่าตัวเองเป็นมะเร็ง ประสบการณ์การรักษาแนวธรรมชาติบำบัด. นครนายก: อาศรมวงศ์สนิท.

อิราวดี ไตลังคะ. (๒๕๔๓). ศาสตร์และศิลป์แห่งการเล่าเรื่อง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

Sontag, Susan. (1990). Illness as metaphor: and AIDS and its metaphor. New York: Farra, Straus and Giroux.